Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/947
Title: | Satisfaction with the marketing mix of mobile banking users in Nakhon Pathom Province ความพึงพอใจต่อส่วนประสมทางการตลาดของผู้ใช้บริการโมบายแบงค์กิ้ง ในจังหวัดนครปฐม |
Authors: | Sorsaart, Benjarat Chantee, Salinee Numwong, Inthira Tanyong, Pongsan เบญจรัตน์ สอสะอาด สาลิณี จันที พงษ์สันติ์ ตันหยง พัชรกันต์ นิมิตรศดิกุล |
Keywords: | Satisfaction Marketing mix Mobile banking |
Issue Date: | 9-Jul-2020 |
Publisher: | Nakhon Pathom Rajabhat University |
Citation: | คริสโตเฟอร์ เอช เลิฟล็อคและลอเรน ไรน์. (2546). การตลาดบริการ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. จิตรวดี อุไรวงศ์. (2554). การศึกษาความพึงพอใจของลูกค้าในการใช้บริการธนาคารกรุงไทย สาขาศรีจันทร์จังหวัด ขอนแก่น. การศึกษาอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ชัญญาพัทธ์ จงทวี. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการMobile Banking ในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2544). การวิจัยเพื่อการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : ทิปพับลิเคชั่น. ธนสิทธ์ ปั้นประเสริฐ. (2549). ความพึงพอใจของผู้โดยสารคนไทยที่มีต่อการให้บริการเที่ยวบิน ภายในประเทศของบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) .วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะพัฒนาสังคม สถาบันฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ วรรณพร หวลมานพ และกัลยกร วรกุลลัฎฐานีย์. (2559). พฤติกรรมและความพึงพอใจของผู้ใช้แอพพลิเคชั่นเคโมบาย แบงก์กิ้งพลัส ของธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ในเขตกรุงเทพมหานคร. JC E-Journal 2559. สืบค้นจาก http://203.131.210.100/ejournal/wp-content/uploads/2016/09/JCIS59030.pdf. มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์ทรวิโรฒ. สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2561). Mobile Banking รูปแบบใหม่ กับฟีเจอร์เพื่อผู้ประกอบการ e- Commerce. สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2563, จาก https://www.etda.or.th/content/mobile-bankingfeatures- for-e-commerce.html สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2562). ETDA เผย ปี 62 คนไทยใช้อินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 10 ชั่วโมง 22 นาที Gen Y ครองแชมป์ 5 ปีซ้อน. สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2563, จาก https://www.etda.or.th/content/thailand-internet-user-behavior-2019-press-release.html ศิริวรรณ เสรีรัตน์และคณะ. (2552). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร. Cochran, W. G. (1953). Sampling techniques (5th ed). New York: John Wiley & Sons. kotler, P. & Armstrong, G. (2014). Principles of Marketing. (15th ed). Global edition: Pearson Inc. Kotler, p., & Keller, K. L. (2012). Marketing Management. (14th ed.). Englewood Cliffs. NJ: Prentice-Hall. Zeithaml, V. A. & Bitner, M. J. (2003). Services Marketing: Integrating customer focus across the firm. 3rd edition. New York: McGraw-Hill Irwin. |
Abstract: | The objectives of this research were 1) to study the level of satisfaction with the marketing mix
of mobile banking users in Nakhon Pathom Province 2) to compare satisfaction with the marketing of
mobile banking service users in Nakhon Pathom Province According to personal factors This research
used the quantitative research methodology. The results showed that satisfaction level with the
marketing mix of mobile banking users in Nakhon Pathom Province In overall, it was found that it was at
a high level. When considering each aspect, it was found that the price was at the highest level. The
distribution channels are in a high level. Production level is in a high level. The marketing promotion
aspect is at a high level. Personal factors of the users such as age, occupation, status, and monthly
income are different, resulting in satisfaction with the marketing mix of mobile banking users in Nakhon
Pathom Province with statistically significant differences. Gender and education were different, resulting
in satisfaction not significantly different. งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจต่อส่วนประสมทางการตลาดของผู้ใช้บริการโมบายแบงค์ กิ้งในจังหวัดนครปฐม 2) เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อส่วนประสมทางการตลาดของผู้ใช้บริการโมบายแบงค์กิ้งในจังหวัด นครปฐมจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research) ผลการวิจัยพบว่า ระดับความ พึงพอใจที่มีต่อส่วนประสมทางการตลาดของผู้ใช้บริการโมบายแบงค์กิ้งในจังหวัดนครปฐม ในภาพรวมพบว่าอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านราคาอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านช่องทางการจัดจำหน่ายอยู่ในระดับมาก ด้านผลิตอยู่ใน ระดับมาก ด้านส่งเสริมการตลาดอยู่ในระดับมาก ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการ ได้แก่ อายุ อาชีพ สถานภาพ รายได้ต่อเดือน แตกต่างกันทำให้ความพึงพอใจต่อส่วนประสมทางการตลาดของผู้ใช้บริการโมบายแบงค์กิ้งในจังหวัดนครปฐมแตกต่างกันอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนเพศและการศึกษาแตกต่างกันทำให้ความพึงพอใจไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ คำสำคัญ: ความพึงพอใจ ส่วนประสมทางการตลาด โมบายแบงค์กิ้ง |
URI: | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/947 |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ความพึงพอใจต่อส่วนประสมทางการตลาดของผู้ใช้บริการโมบายแบงค์กิ้ง.pdf | 275.91 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.