Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1155
Title: Aging society in ASEAN : The crisis that Thailand must prepare.
สังคมสูงวัยในอาเชียน : วิกฤตที่ไทยต้องเตรียมรับมือ
Authors: Srinuch, Vacharaporn
Chindapol, Worawit
วัชราภรณ์ ศรีนุช
วรวิทย์ จินดาพล
Keywords: ASEAN
population
older person
aging society crisis
aged society
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (2553) , แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2525 - 2544) และ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545 - 2564) ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ. 2552
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (2553) , พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (2557) , เอกสารประวสถิติด้านสังคม "ประซากรสูงอายุของไทย : ปัจจุบันและอนาคต"
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (2559) , เอกสารประมวลสถิติด้านสังคม "ประชากรสูงอายุอาเซียน"
กรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (2562 , มาตรการขับเคลื่อนระเบียบวาระแห่งชาติ เรื่อง สังคมผู้สูงอายุ (ฉบับปรังปรุง)
สำนักงานสถิติแห่งชาติ (2557) , รายงานการสำรวจประซากรผู้สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2557
สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (มปป.) , ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 (ฉบับย่อ)
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี (มปป. , แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 - 2564
อนันต์ อนันตกูล (มปป.), เอกสารการศึกษา "สังคมสูงวัย...ความท้ทายของประเทศไทย" เสนอที่ประชุมราชบัณฑิตและ ภาคีสมาชิก สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑิตยสภา
Economic Intelligence Center (EIC) ธนาคารไทยพาณิชย์ , ธุรกิจบริการผู้สูงอายุกับโอกาสของผู้ประกอบการไทย สืบค้นเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2563 , จาก https://www.scbeic.com/th/detail/product/556
Gotoknow ชุมชนออนไลน์เพื่อการจัดการความรู้ , วงจรนโยบายสาธารณะ สืบคันเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2563 , จาก https://www.gotoknow.org/posts/460737
Abstract: One of the most obvious changes in the world population is the age structure of the population that has an increasing number of elderly people while the birth rate declined. This phenomenon is called "Aged society" which many countries in the world have advanced into an aging society. Some countries are stepping into an aging society completely and there are predictions that the country will step into the super-aging society soon. By changing the proportion of the population of various age groups, this can be a measure of competitiveness and the important economic potential for the country. Therefore, is considered an issue that Challenging and necessary for the 10 countries that ASEAN members must prepare and deal with the changes that will occur from "Aging society crisis"
การเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้อย่างชัดเจนประการหนึ่งของประชากรโลก คือ โครงสร้างอายุของประชากรที่มีจำนวน ผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่อัตราการเกิดกลับลดลงเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า "สังคมสูงวัย" (Aged society) ซึ่งหลาย ประเทศในโลกได้ก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมสูงวัยแล้ว บางประเทศก้าวเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ และมีการคาด การณ์ว่า ประเทศนั้นๆ จะก้าวเข้าสู่สังคมสูงวัยระดับสุดยอดในอนาคตอันใกล้ โดยการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนประชากรในกลุ่มอายุต่างๆ นี้ สามารถเป็นตัวชี้วัดความสามารถในการแข่งขัน และศักยภาพทางเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศได้ จึงนับเป็นประเด็น ที่ท้าทายและมีความจำเป็นลำดับต้นๆ ที่ประเทศ 10 ประเทศสมาชิกอาเซียนจะต้องเตรียมความพร้อมและรับมือกับ ความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดจาก "วิกฤตสังคมสูงวัย"
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1155
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
สังคมสูงวัยในอาเซียน.pdf942.64 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.