Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1145
Title: State for the Development of Academic Leadership of School Administrators Under the Secondary Education Service Area Office 32
สภาพการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
Authors: Sachofa, Kraiwan
Tassanatep, Winiranee
Vajarintarangoon, Kovit
ไกรวรรณ สาช่อฟ้า
วินิรณี ทัศนะเทพ
โกวิท วัชรินทรางกูร
Keywords: school administrators
academic
leadership
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: ประสิทธิ์ สุวรรณรักษ์. (2555). วิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. บุรีรัมย์ คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏ บุรีรัมย์
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2553). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี
วันทนา เมืองจันทร์. (2556). บทบาทของนักบริหารที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการบริหารสถานศึกษา. ราจาวิทยารสย์. 9(5): 10-15
ศักดิ์ไทย สุรกิจบวร. (2559). ประสิทธิผลภาวะผู้นำของผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษา : คุณลักษณะสำคัญของ ผู้บริหารยุคโลกาภิวัตน์. วารสารวิชาการ 5 .(1) :7-8.
สราวุฒิ ศักดี. (2557). ภาวะผู้นำทางวิซาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา
สำนักงานคณะกรรมการการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560), แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564). กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี
สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2557). แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2557). รายงานการวิจัยแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อม ศตวรรษที่ 21 . กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
สุขฤทัย จันทร์ทรงกรด. (2558). ภาวะผู้นำทางวิซาการของผู้บริหารสถานศึกษาในจังหวัดจันทบุรี สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.
Blase, J., & Blase, J. (1999 a). Principals'instructional leadership and teacher development: Teachers' perspectives, Educational Administration Quarterly. 35(3): 349-378.
Glickman, C. D. (2007). Super vision and instructional leadership: A developmental approach. (7th ed.). Boston: Pearson.
Hopkins, D. (2001). A teacher's guide to classroom research. Buckingham: Open University Press.
Leithwood, K. (2006). A review of the research: Educational leadership. The laboratory for student success at the temple university center for research in human development and education. Retrieved from http://www.temple.edu/lss.
Abstract: The purposes of this research were to study and compare teachers’ opinion toward state for the development of academic leadership of school administrators under Secondary Educational Service Area Office 32 distinguish by working experience and school size.The samples consisted of 354 teachers. The instrument used in this study was a questionnaire with reliability value of .97. The data were analyzed by using percentage, mean and standard deviation. The hypotheses were tested by using t-test and one-way ANOVA analysis of variance and multiple comparison test (Scheffe’s Method). The research results revealed that: 1) state for the development of academic leadership of school administrators, according to the opinion of teachers in overall, was at a high level. 2) The comparison of state for the development of academic leadership of school administrators according to the opinion of teachers classified by working experience and school size, in overall and each aspect was found statically significant differences at the .05 level.
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน และขนาดของโรงเรียน กลุ่มตัวอย่าง เป็นครูจำนวน 354 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานโดยการทดสอบค่าที่ และการวิเคราะห์ ความแปรปรวนแบบทางเดียว เมื่อพบความแตกต่างจะเปรียบเทียบเป็นรายคู่ ใช้วิธีการของเซฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะ ผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถนศึกษาตามความคิดเห็นของครูโดยรวมอยู่ในระดับมาก 2) การเปรียบเทียบภาวะผู้นำทาง วิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครู จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน และขนาดของโรงเรียน โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1145
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.