Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/966
Title: Digital Technology for Increasing Human Resource Management Efficiency of Small Establishments, Songkhla Province.
เทคโนโลยีดิจิทัลในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ของสถานประกอบการ ขนาดเล็กในจังหวัดสงขลา
Authors: Chaisri, Saifon
Hangsawanus, Prakarn
สายฝน ไชยศรี
ปราการ หังสวนัส
Keywords: Digital Technology
Human Resource Management
Songkhla Province
Efficiency
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: พิไลวรรณ จ้อยีผล. (2554). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อการยอมรับนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา ของครูเกียรติยศใน ประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 11 มกราคม 2563 จาก https://www.gotoknow.org/post/442126.
พัชราภา โพธิ์อ่อง. (2561). เทคโนโลยี (Digital HR) กับการเพิ่มประสิทธิภาพการสรรหาบุคลากรในองค์กรธุรกิจค้าปลีก. ปริญญานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษา บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศุภกร ศิรสุนทร. (2560). 4.0 คืออะไร ทำไมต้อง 4.0 ?. สืบค้นเมื่อ 19 มกราคม 2563 จาก https://www.esanbiz.com สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม เครือข่ายมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (2559). การศึกษาศักยภาพในการปรับตัวของผู้ประกอบการธุรกิจ SMEs เพื่อรองรับการเปิดเสรีทางการค้า กรณีศึกษาจังหวัดสงขลา . สืบค้นเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2563 จาก http://www.sme.go.th/thupload.php
สุรพิชย์ พรหมสิทธิ์. (2561). Digital HR-กระบวนการ HR ใหม่ในโลกดิจิทัล. เสวนา Digital Dialogue คณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.สืบค้นเมื่อ 8 มกราคม 2563 จาก https://www.the101.word/digitalhr
สุรศักดิ์ ชะมารัมย์. (2560). ทำการศึกษาการทำงานรูปแบบใหม่ด้วยเทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือ : ประเด็นความท้าทายใหม่ ของการสรรหาและการคัดเลือกบุคลากรในยุดประเทศไทย 4.0. วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการ สื่อสาร. ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2560 หน้า 9-22.
สำนักงานสถิติจังหวัดสงขลา. (2562). รายงานสถิติจังหวัดสงขลา พ.ศ.2562. กองสถิติพยากรณ์ สำนักงานสถิติแห่งชาติ. กรุงเทพ.
สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสงขลา. (2562). สถานการณ์แรงงานและการจ้างงานจังหวัดสงขลา พ.ศ. 2562. สำนักแรงงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสงขลา. สงขลา. 1454
Abstract: The objective of study the level of digital technology implementation in human resource management, level of opinions on the efficiency of using digital technology in human resource management and compare lavel of opinions on the efficiency of using digital technology in human resource management of small establishments in Songkhla Province. Classified by business type such as manufacturing, commercial and service. The study adopted a quantitative research using a questionnaire that the reliability of coefficient alpha was .805 with 400 employer. The statistics used in data analysis are mean, percentage and one-way ANOVA at a statistical significance level of 0.5. The results was found that 1) The small establishments used digital technology for human resource management at a medium level (x̄ = 2.84), in administration, development, recruitment/selection and compensation tasks. The most commonly applied digital technology is social networks and websites for job applications (x̄ = 4.25), followed by User Experience (UX / UI) to create experiences and Opportunities for employees to use digital work such as : online leave system, send and receive document by E-doc, online work schedule (x̄ = 4.18) and Digital Application to coordinate meetings, communicate between employees together and to work across departments (x̄ = 3.98), respectively. 2) The effective management of human resources obtained from digital technology used is high level (x̄ = 3.58) by time efficiency had the highest average (x̄ = 4.01), followed by quality efficiency (x̄ = 3.40) and quantity efficiency (x̄ = 3.32) at a medium level. And 3) The different business type are different mean levels of opinions on the efficiency of human resource management. Statistical significance at the level of .05
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาระดับการนำเทคโนโลดิจิตัสมาใช้ในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ระดับความ คิดเห็นต่อประสิทธิภาพการใช้เทคโนโลปีดิจิทัลในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ และเปรีบเทียบระดับความคิดเห็นต่อประสิทธิภาพ การใช้เทคโนโลปีดิจิหัลในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ของสถานประกอบกรขนาคเล็กในจังหวัดสงขลา จำแนกตามประเภท ธุรกิจ ได้แก่ ธุรกิจการผลิต ธุรกิจการค้า และธุรกิจบริการ เป็นการวิจับเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถาม ที่มีค่ความเที่ยงหรือ ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา ทั้งฉบับ คือ 805 ทำการศึกษานายจ้างในสถานประกอบการขนาดเล็ก จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-way ANOVA กำหนดระดับ นัยสำคัญทางสถิติที่ 0.5 ผลการวิจัยพบว่า 1)สถานประกอบการขนาตเล็กมีการนำเทคนโลตี้จิทัสมาใช้ในงานบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ในระดับปานกลาง (-284) ทั้งในงานบริหาร งานฟัฒนา งานสรรหาคัดเลือก และงานค่าตอบแทน โดย เทคโนโลปีดิจิทัลที่มีการนำมาใช้มากที่สุด คือ ใช้เครือข่ยสั่งคมออนไลน์ (Social Network) และเว็บไซต์ (Website) ในการ รับสมัครงาน (X-4.25) รองลงมาคือ ใช้ User Experience (UXบ!)สร้างประสบการณ์และโอกาสให้พนักงานได้ใช้ดีจิทัส ทำงาน เช่น ระบบการลางาน online รับ-ส่งหนังสือด้วย E-doc ตารางการทำงาน online (x-4.18) และใช้ Digital Application เพื่อติดต่อ ประสานงาน ประชุม สื่อสารระหว่างพนักงานด้วยกันและในการทำงานร่วมกันของพนักงานข้ามฝ้าย (๔-3.98) ตามลำดับ 2) ระดับความคิดเห็นต่อประสิทธิภาพการบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่ได้จากการนำเทคโนโลดิจิทัสมาใช้ อยู่ในระดับมาก (-3.58) โดบด้านเวลาอยู่ในระดับมาก มีค่าเลี่ยสูงสุด (-4.01) รองลงมาคือ ด้านคุณภาพ 6-3.40) และ ด้านปรึมาณ (- 3.32อยู่นระดับปานกลาง และ 3) ลักษณะกิจการที่แตกต่างกัน มีคำเฉลี่ยระดับความคิดเห็นต่อ ประสิทธิภาพการบริหารทรัพากรมนุษย์แตกต่างกัน อย่างมีนับสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/966
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.