Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/962
Title: | Attitude, marketing mix and acceptance of online payment via QR Code system of consumers in Phuket City Municipality ทัศนคติ ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดและการยอมรับการชำระเงินออนไลน์ ผ่านระบบ QR Code ของผู้บริโภคในเขตเทศบาลนครภูเก็ต |
Authors: | Sirirak, Sirawit Krootsong, Kittipong ศิรวิทย์ ศิริรักษ์ กิตติพงษ์ ครุฑทรง |
Keywords: | Attitude marketing mix acceptance online payment QR Code system |
Issue Date: | 9-Jul-2020 |
Publisher: | Nakhon Pathom Rajabhat University |
Citation: | กัลยา วานิชย์บัญชา. (2548). หลักสถิติ. พิมพ์ครั้งที่ 8 : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. จุฑารัตน์ แวววิเชียร. (2562). การยอมรับทางเทคโนโลยีที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการธุรกรรมทางการเงินของธนาคาร ทหารไทย จำกัด (มหาชน) สำนักงานใหญ่. การค้นคว้าอิสระ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสยาม นวรัตน์ ช่วยบุญชู อรจันทร์ ศิริโชติและเจษฎา นกน้อย (2562) การยอมรับเทคโนโลยีและคุณภาพการบริการที่มีอิทธิพลต่อ ความจงรักภักดีของผู้ใช้บริการธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ วารสารเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562 หน้า 31-52 นุชนาฏ สุทธิวงษ์. (2562) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งใจเลือกใช้บริการการชำระเงินผ่านแอพพลิเคชั่นเงินอิเล็กทรอนิกส์ (e-Money) ในกรุงเทพมหานคร (การค้นคว้าอิสระ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสยาม) พุธิตา พวงศิริ (2553). การยอมรับนวัตกรรม QR Code ตามรูปแบบของความมีนวัตกรรมของ ผู้บริโภค. วิทยานิพนธ์ ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการตลาด จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 40 วิศวกรรมสาร มก. พรชนก พลาบูลย์. (2558). การยอมรับนวัตกรรมและเทคโนโลยี การใช้เทคโนโลยี และพฤติกรรมผู้บริโภคที่ส่งผลต่อความ ตั้งใจของประชาชนในการใช้บริการธุรกรรมทางการเงินผ่านระบบพร้อมเพย์ (PromptPay) ของรัฐบาลไทย. การค้นคว้าอิสระ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ พัชรียา สุตา. (2555). การรับรู้และทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อการซื้อสินค้าผ่าน QR Code ในเขตกรุงเทพมหานคร. (การ ค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี). สุวิมล ติรกานันท์. (2548). การประเมินโครงการ : แนวทางสู่การปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Cochran, W.G. (1953). Sampling Techniques. New York John Wiley & Sons. Inc. Nunnally, J. C., & Bernstein, I. H. (1994) Psychometric theory (3rd ed.). New York, NY: McGraw-Hill, Inc. |
Abstract: | The purpose of this research was to study the level of Attitude, marketing mix and acceptance
of online payment via QR Code system of consumers in Phuket City Municipality. This research is a
quantitative research. Questionnaires were used to collect data from 4 00 consumers having online
payment via QR Code experience Phuket City Municipality by using purposive sampling method.
Quantitative data analysis was performed by using descriptive statistics. The research showed that most
of the samples have the attitude in much level in all dimensions: Format, Customer Cost, Convenience
and Communication, were rearranged from high to low perceived attitude level. The marketing mixed
also were evaluated in much level in all dimensions: Process, Physical Environment, Price, People,
Product, Place and promotion, were rearranged from high to low perceived importance level. Finally, the
acceptance were examined in much level in all dimensions: Compatibility, Trial ability, Observability,
Relative Advantage and Complexity, were rearranged from high to low perceived acceptance level. งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับทัศนคติ ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด และการยอมรับการชำระเงิน ออนไลน์ผ่านระบบ QR Code ของผู้บริโภคในเขตเทศบาลนครภูเก็ต การวิจัยครั้งนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ ใช้ แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ โดยมีกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริโภคในเขตเทศบาลนครภูเก็ต ที่เคยทำการชำระเงินออนไลน์ผ่านระบบ QR Code จำนวน 400 คน ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบแบบเจาะจง และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีทัศนคติโดยรวมในทุกด้านอยู่ในระดับมาก โดยสามารถเรียงตามลำดับคะแนนจากมากไปน้อย ได้ดังนี้ ด้านรูปแบบทางกายภาพ ด้านต้นทุน ด้านความสะดวกสบาย และด้านการติดต่อสื่อสาร มีความคิดเห็นต่อระดับความสำคัญ ของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในทุกด้าน อยู่ในระดับมาก โดยสามารถเรียงตามลำดับคะแนนจากมากไปน้อย ได้ดังนี้ ด้านกระบวนการ ด้านรูปแบบการนำเสนอ ด้านราคา ด้านบุคคล ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการจัดจำหน่ายและบริการ และด้านการ ส่งเสริมการตลาดและมีความคิดเห็นต่อการยอมรับการชำระเงินออนไลน์ผ่านระบบ QR Code ในทุกด้าน อยู่ในระดับมาก โดยสามารถเรียงตามลำดับคะแนนจากมากไปน้อย ได้ดังนี้ ด้านความเข้ากันได้ ด้านการรับรู้ความเสี่ยง ด้านการสังเกตได้ ด้าน ประโยชน์เชิงเปรียบเทียบและด้านความซับซ้อน |
URI: | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/962 |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ทัศนคติ ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดและการยอมรับการชำระเงินออนไลน์.pdf | 189.74 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.