Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/954
Title: | Desirable Characteristics of School Administrators as Perceived by Teachers of the Saimai District, Bangkok Metropolis คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาตามการรับรู้ของครู ในสังกัดสำนักงานเขตสายไหม กรุงเทพมหานคร |
Authors: | Boonrueang, Sirinan Tharasrisutti, Pavida ศิรินันท์ บุญเรือง ภาวิตา ธาราศรีสุทธิ |
Keywords: | The School Administrators Desirable Characteristics of School Administrators Desirable Characteristics |
Issue Date: | 9-Jul-2020 |
Publisher: | Nakhon Pathom Rajabhat University |
Citation: | จารุณี ดวงแก้ว. (2554). คุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษาตามหลักเกณฑ์ของคณะกรรมการข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3.ปริญญาครุศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา , มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี. ณัฐชุนันท์ ธนัพประยูร. (2559). คุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ชลบุรีเขต 1. งานนิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา , มหาวิทยาลัยบูรพา. พนิดา โสดสงค์. (2560). คุณลักษณะของผู้บริหารมืออาชีพตามความคิดเห็นของครูสหวิทยาเขตระยอง 2 สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18. งานนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะ ศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา. เพียงหทัย แก้วดวงงาม. (2559). คุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษามืออาชีพ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา , มหาวิทยาลัยราชภัฏ วไลยอลงกรณ์. ภูวิศา ชูธัญญะ. (2556). คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้บริหารโรงเรียนในเครืออักษรกรุ๊ป สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน .วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต , มหาวิทยาลัยบูรพา. ศิริยาภรณ์ ชมทอง. (2559). ความพึงพอใจของครูต่อคุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษาเขตคุณภาพการศึกษาที่ 14 อำเภอแปลงยาว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2. งานนิพนธ์ศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา , มหาวิทยาลัยบูรพา. ศุภมาส วิสัชนาม. (2560). คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาจันทรบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา , มหาวิทยาลัย ราชภัฏรำไพพรรณี. เอกพันธ์ ลาเลิศ. (2559). การศึกษาความคิดเห็นของครูผู้สอนต่อคุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษา ในกลุ่มโรงเรียน เครือข่าย 7 อำเภอปทุมราชวงศา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอำนาจเจริญ. สารนิพนธ์ปริญญาศึกษา ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา , มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ. Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), pp. 607-610. |
Abstract: | The purpose of this research was to study Desirable Characteristics of School Administrators as
PerceiU Nationved by Teachers of the Saimai District, Bangkok Metropolis and compare the desirable
characteristics of school administrators as perceived by teachers under the Saimai District,
al Academic Conference
King's Philosophy and Research for Life Balance in Disruptive Technology Era
Bangkok classified by education and work experience. The sample group used in this research consisted
of 140 teachers working in schools under the Saimai District, Bangkok, from Krejcie and Morgan’s
opening table, derived by stratified random sampling technique. The research instruments used in this
study were 5 scale questionnaires. The statistics used in this study were frequency, percentage, means,
standard deviation. t-test and One -way ANOVA. The results of the research were as follows: 1) Teachers
are recognizing the desirable characteristics of school administrators under the Saimai District,
Bangkok. In overall and in each level at a high level. 2) Teachers who have the different education
levels are recognizing of the desirable characteristics of school administrators under the Saimai District,
Bangkok. In overall and in each level is not different. 3) Teachers who have the different experience are
recognizing of the desirable characteristics of school administrators under the Saimai District, Bangkok. In
overall and in each level is not different การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณลักษณะอันพึ่งประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาตามการรับรู้ของครูในสังกัด สำนักงานเชตสายไหม รุงเทพมหานครและเปรีบเที่ยบคุณลักษณะอันพึ่งประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาตามการรับรู้ของ ครูในสังกัดสำนักงานเขตสายไหม กรุงเทพมหานคร์ โดยจำแนกตามวุฒิการศึกษาและประสบการณ์ในการทำงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจับในครั้งนี้ ได้แก่ ครูที่ปฏิบัติงานในโรงเรียน สั่งกัดสำนักงานเขตสายไหม กรุงเทพมหานคร จากการ เปิดตารางชองเคซี่และมอร์แกน (Krejcie and Morgan) ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 140 คน แล้วใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) มาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวีจับคือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเปียงเบนมาตรฐาน สถิติทตสอบค่าที่ (t - test) และการทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One -way ANOVA ผลการวิจัยพบว่า 1) ครูมีกรรับรู้ต่อคุณลักษณะอันฟังประสค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด สำนักงานชตลายไหม กรุงทพมทานคร โดยภาพรวมและราบค้านอยู่ในระดับมาก 2) ครูที่มีวุฒิการศึกษาต่างกันมีการรับรู้ต่อ คุณลักษณะอันฟังประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานชตสายไหม กรุงเทพมหานคร โคยภาพรวมและ รายด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) ครูมีประสบการณ์นการทำงานต่งกันมีการรับรู้ต่อคุณลักษณะอันพึ่งประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตสายไหม กรุงเทพมหานคร โตยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน |
URI: | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/954 |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาตามการรับรู้ของครู.pdf | 226.26 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.