Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/953
Title: Quality of Work Life in Operational Performance of Bangkok Health Volunteers
คุณภาพชีวิตในการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร
Authors: Yodthaharn, Sasima
Pobkeeree, Vallerut
ศศิมา ยอดทหาร
วัลลีรัตน์ พบศีรี
Keywords: Bangkok Health Volunteers
Community Health Management
Quality of Work Life
Performance of Health Volunteers
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย. (2548). มาตรฐานและตัวชี้วัดงานสาธารณสุขมูลฐาน. ค้นเมื่อ 27 เมษายน 2563 จาก http://www.dla.go.th/work/e_book/eb1/std210550/15/5.pdf
กองการพัฒนาชุมชน สำนักพัฒนาสังคม. (2562). สถิติข้อมูลชุมชนของกรุงเทพมหานคร. ค้นเมื่อ 9 กันยายน 2562 จาก http:// www.bangkok.go.th/ social/page/sub/13707/สถิติข้อมูลชุมชนของกรุงเทพมหานคร
กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กระทรวงสาธารณสุข. (2556). คู่มือ อสม. นักจัดการสุขภาพชุมชน. ค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2562 จาก phc.moph.go.th/www_hss/data_center/ifm_mod/nw/osm25356.doc
กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กระทรวงสาธารณสุข. (2560). แนวทางการพัฒนาศักยภาพ อสม. 4.0. ค้นเมื่อ 22 ธันวาคม 2561 จาก http://phc.moph.go.th/www_hss/data_center/ dyn_mod/Guideline_VHV.4.0.pdf
กองสร้างเสริมสุขภาพ สำนักอนามัย. (2556). คู่มือปฏิบัติงานสาธารณสุขเชิงรุกสำหรับอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์, และปารณัฐ สุขสุทธิ์. (2550). อาสาสมัครสาธารณสุข : ศักยภาพและบทบาทในบริบทสังคมไทยที่ เปลี่ยนไป. วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 1(3-4), 268-279. คณะกรรมการระดับชาติจัดทำยุทธศาสตร์ระบบบริการสุขภาพเขตเมือง. (2561). ยุทธศาสตร์ระบบบริการสุขภาพเขตเมือง (พ.ศ.2561-2570). ค้นเมื่อ 22 ธันวาคม 2561 จาก http://bps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/Strategic HealthServiceSystemforUrbanAreas.pdf นิทรา กิจธีระวุฒิวงษ์, และภูดิท เตชาติวัตน์. (2557). การประเมินผลการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่ ปฏิบัติงานในเครือข่ายบริการสุขภาพ อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก. วารสารพยาบาลสาธารณสุข. 28(1), 16-28. พิทักษ์พงษ์ กุลวิมล, อารยา ประเสริฐชัย, และวรางคณา จันทร์คง. (2561). การประเมินผลการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้านในการดำเนินงานหมู่บ้านจัดการสุขภาพ อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัย อีสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 8(2), 265-273.
วราภรณ์ ปั้นบรรจง, และพิศณุ พูนเพชรพันธ์. (2560). คุณภาพชีวิตการทำงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. 10(1), 143-154.
สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2562). นโยบาย 3 รัฐบาล. ค้นเมื่อ 10 กันยายน 2562 จาก https:// library2.parliament.go.th/ebook/content-ebbas/2562-choksuk.pdf
เอกพงศ์ เกยงค์. (2560). การปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง. วารสารวิจัยระบบ สาธารณสุข. 11(1), 118-126.
Huse, E.F. and Cumming, T.G. (1985). Organization development and change. New York: West Publishing Minnesota: West Publishing.
Thakur, R. and Sharma, D.K. (2019). Quality of work life and Its relationship with work performance-A Study of employees of Himachal pradesh power corporation limited. Journal of strategic human resource management. 8(3), 45-52. Walton, R.E. (1974). Improving the quality of work life. Harvard business review. 14(16), 4-12.
Weiers, R.M. (2011). Introduction to business statistics. Mason Ohio: South-western cengage learning
Abstract: The purpose of this research are to study the level of quality of work life and operational performance in urban community health management of Bangkok Health Volunteers (BHVs), including finding relationships between individual characteristics, quality of work life in operational performance of BHVs in urban community health management. The research is a cross - sectional study and the participants are consisted of 275 BHVs. Data were collected using questionnaires from February - March, 2020. The response rate was 100%. Descriptive statistics were used to analyze the data. Spearman's rank correlation coefficient were used to find the relationships. The findings revealed that approximately half of the BHVs, had overall quality of work life was at a moderate level 55.64%. Also, overall operational performance in urban community health management at a moderate level 50.91%. Education level, area of responsibility, other roles in community were related to operational performance in urban community health management of the BHVs with statistical significance ( p-value<0. 05) and quality of work life in the aspects of work environment, competency development, social relationship, benefits and compensation were related to operational performance in urban community health management of the BHVs with statistical significance (p-value<0.001). BHVs should receive training on budget management and information technology to help support their work. Bangkok Metropolitan Administration should provide quality of work life to raise their morale that lead to high and more effective performance.
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณลักษณะส่วนบุคคลของอาสาสมัคร สาธรณสุขกรุงเทพมหานคร (สส.) ประมินระดับคุณภาพชีวิตในการปฏิบัติงาน ของ อสส. ประเมินระดับการปฏิบัติงานของ อสส. ในการจัดการสุขภาพชุมชนมือง และหาความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะส่วนบุคคล และคุณภาพชีวิตในการปฏิบัติงาน กับการปฏิบัติงานชอง อสส. ในการจัดการสุขภาพชุมชนเมือง โคยมีกลุ่มตัวอย่าง คือ อสส. จำนวน 275 คน เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถาม ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2563 อัตราการตอบกลับแบบสอบถาม ร้อยละ 100 การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณนา และวิเคราะห์หาความสัมพันโดยใช้สถิติคสแควร์ และสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเบียร์แมน ผลการวิจัพบว่า อสส. ประมาณครึ่งหนึ่ง มีคุณภาพชีวิตในการปฏิบัติงานโดยรวม ร้อยละ 55.64 อยู่ในระดับปานกลาง และการปฏิบัติงานในการจัดการสุขภาพชุมชนเมืองโตยรวม ร้อยละ 50.91 อยู่ในระดับปานกลาง และพบว่า คุณลักษณะส่วน บุคคล ได้แก ระดับการศึกษา จำนวนครัวเรือนที่ดูแล และการคำรงตำแหน่งอื่น ๆ ในชุมชน มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติงาน ของ อส.. ในการจัดการสุขภาพชุมชนมือง อย่างมีนัยสำคัญทงสถิติที่ระดับ 0.05 คุณภาพชีวิตในการปฏิบัติงาน ได้แก่ สภาพ แวดล้อมในการปฏิบัติงาน การพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติงาน ความสัมพันธ์ทางสังคม และผลประโยชน์ตอบแทน มีความ สัมพันธ์กับการปฏิบัติงานของ อสส. ในการจัดการสุขภาพชุมชนเมือง อย่างมีนัสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 จากผลการวิจัย ควรส่งเสริมให้มีกรจัดบในด้านกรจัดการงบประมาณ และการใช้เทคโนโลสื่อสารสุขภาพ และควรให้ความสำคัญกับการ พัฒนาคุณภาพชีวิตในการปฏิบัติงานของ อสส. ให้อยู่ในระดับสูง ซึ่งจะเป็นการเพิ่มขวัญและกำลังใจให้กับ อสส. นำไปสู่การมีผล การปฏิบัติงานที่ดีและมีประสิทธิภาพ
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/953
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.