Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/941
Title: The Satisfaction of Graduate Users in Human Resource Management Program, Faculty of Management Science, Nakhon Pathom Rajabhat University
ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
Authors: Thongsukmak, Nattakan
Kraisa, Chanakan
Panyindee, Janjirapon
นัฐกานต์ ทองสุขมาก
ชนากานต์ไกรสา
จันจิราภรณ์ ปานยินดี
Keywords: Employers of Graduates
Human Resource Management
Satisfaction
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กลุ่มงานสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. (2560). รายงานการวิจัยความพึงพอใจของผู้ใช้ บัณฑิตที่มีต่อคุณภาพของบัณฑิตระดับปริญญาตรี โท และเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติรุ่นปีการศึกษา 2558 – 2559 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
กาญจนา สิริกุลรัตน์และคณะ. (2553). ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตต่อการปฏิบัติงานและคุณลักษณะของบัณฑิตที่ สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี พ.ศ. 2553. ค้นเมื่อ 1 มกราคม 2563 จาก http://www.research.cmru.ac.th/research59/ris/download.php?download_file=article&no=46 ป
กาญจนา สิริกุลรัตน์และคณะ. (2553). ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตต่อการปฏิบัติงานและคุณลักษณะของบัณฑิตที่ สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี พ.ศ. 2553. ค้นเมื่อ 1 มกราคม 2563 จาก http://www.research.cmru.ac.th/research59/ris/download.php?download_file=article&no=46 ดุสิต จักรศิลป์ และคณะ. (2560). ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตต่อคุณภาพบัณฑิต ของหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขา การเงินและการธนาคาร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. วารสารศรีวนาลัยวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 7(2), 17-31. ธเนศ ยุคันตวนิชชัย. (2560). การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในเศรษฐกิจยุคใหม่. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 8(1), 48-67. ป
กาญจนา สิริกุลรัตน์และคณะ. (2553). ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตต่อการปฏิบัติงานและคุณลักษณะของบัณฑิตที่ สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปี พ.ศ. 2553. ค้นเมื่อ 1 มกราคม 2563 จาก http://www.research.cmru.ac.th/research59/ris/download.php?download_file=article&no=46
ดุสิต จักรศิลป์ และคณะ. (2560). ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตต่อคุณภาพบัณฑิต ของหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขา การเงินและการธนาคาร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. วารสารศรีวนาลัยวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 7(2), 17-31.
ธเนศ ยุคันตวนิชชัย. (2560). การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในเศรษฐกิจยุคใหม่. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 8(1), 48-67.
ธิติมา พลับพลึง ปิยพงศ์ พลับพลึง และ เกวลี แก่นจันดา. (2559). ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลรัตนโกสินทร์. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ครั้งที่ 1, 839-848. บุญชม ศรีสะอาด. (2558). การแปลผลเมื่อใช้เครื่องมือรวบรวมข้อมูลแบบมาตราส่วนประมาณค่า. ค้นเมื่อ ธันวาคม 1, 2562, จาก http://www.watpon.com/boonchom/trans.pdf ประภาพรรณ เปลี่ยนแก้ว และเนาวนิจ พึ่งจันทรเดช. (2559). ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตต่อสมรรถนะของบัณฑิต พยาบาล วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ. วารสารพยาบาลตำรวจ, 8(1), 136-144. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. (2561). แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม พ.ศ. 2562 – 2566. ค้นเมื่อ 1 มกราคม 2563 จาก https://npru.ac.th/2019/info/files/strategic%202562.pdf
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. (2562). ระบบสารสนเทศงานทะเบียนและวัดผล. ค้นเมื่อ 27 ธันวาคม 2562 จาก http://reg1.npru.ac.th/registrar/home.asp?
รัชดาภรณ์ ตัณฑิกุล. (2559). ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตคณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. วารสาร วิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 11(2), 237-245. วรญา ทองอุ่น และจันจิราภรณ์ ปานยินดี. (2560). ความพึงพอใจต่อหลักสูตรการบริหารทรัพยากรมนุษย์ คณะวิทยาการ จัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์, 2(1), 1-12. ศศิพิมล แสงจันทร์, กุลวีณ์ วุฒิกร และ นันทินี สุดโททอง. (2554). ความพึงพอใจของผู้ประกอบการที่มีต่อบัณฑิตของคณะ วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. วารสารจันทรเกษมสาร, 17,33, 87-94.
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2552). ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษาเรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติพ.ศ. 2552. ค้นเมื่อ 1 มกราคม 2563 จาก http://www.mua.go.th/users/tqf-hed/news/FilesNews/FilesNews3/News328072552.pdf
สุรชัย โกศิยะกุล. (2556). ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตต่อการปฏิบัติงานและแนวทางพัฒนาการผลิตบัณฑิตมหาวิทยาลัย ราชภัฏกำแพงเพชร, สักทอง : วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 19(2), 11-20. Hair, J. F., et al. (2010). Multivariate data analysis. 7th ed. Upper Saddle River, NJ: Pearson Prentice Hall.
Yamane, T. (1973). Statistics: An introductory analysis. 3 rd Ed. New York: Harper and Row Publisher.
Abstract: The objectives of this research were to study 1) The satisfaction of graduate users in human resource management program, Faculty of Management Science, Nakhon Pathom Rajabhat University and 2) comparison The satisfaction of graduate users in human resource management program, Faculty of Management Science, Nakhon Pathom Rajabhat University classified by types of organizations. The sample was 75 employers between 2017 to 2019. The data was analyzed in term of frequency, percentage, mean, standard deviation and Independent t-test. The results indicated that the satisfaction of employers of graduates was at the highest level (Mean=4.54, S.D.=0.75). In addition, employers with different types of organizations had no the different level in satisfaction.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม และ 2) เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม จำแนกตามประเภทของหน่วยงาน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ใช้บัณฑิตปี 2560-2562 จำนวน 75 คน สถิติที่ใช้วิเคราะห์ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการทดสอบที (Independent t-test) ผลการศึกษาพบว่าระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต สาขาวิชาการ จัดการทรัพยากรมนุษย์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.54 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.75 ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ คณะวิทยาการ จัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม จำแนกตามประเภทของหน่วยงานไม่แตกต่างกัน
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/941
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.