Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/932
Title: Belief behind Ghost Worship Dance Ritual in the Yearly Ceremony
ความเชื่อเหนือพิธีกรรม ฟ้อนถวายผีในพิธีเลี้ยงปีของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวครั่งบ้านทุ่งผักกูด
Authors: Krachangmek, Jitkawee
Sirihirunyanond, Thitima
Ingadapa, Nisanad
จิตกวี กระจ่างเมฆ
ฐิติมา สิริหิรัณยานนท์
นิศานาถ อิงคดาภา
Keywords: Belief
Ghost worship dance
Ghost worship ritual
Ritual
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: จิตกวี กระจ่างเม. (2557 ระบบความเชื่อและพืธีกรรมการนับถือผีบรรพบุรุษในสังคมสมัยใหม่ของ ของกลุ่มชาติพันธุ์ ลาวครั่งอำเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม. ดุษฎีนิพนธ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา.
ฉลาดชาย รติตานนท์. (2527). ผีเจ้านาย.กรุงเทพฯ: พายัพออฟเซทออฟพรินท์.
ธวัช ปุณโณทก. (2534). วัฒนธรรมพื้นข้าน:คติความเชื่อ. พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
(2542). สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคอีสานเล่ม 5. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทยธนาคารไทย
พระสยาม กาฬภักดี. (2549). ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของชาวลาวครั่งบ้านบ่อกรุและบ้านทุ่งกฐิน ตำบลบ่อกรุ อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต,สาขาไทยศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
ภารตี มหาชันธ์. (2541). พื้นฐานอารยธรรมไทย.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวีโรฒบางแสน.
โรย ปีมณี. (2561). สัมภาษณ์. 22 กรกฎาคม.
วีรวัฒน์ วรายน. (2598). ความมีตัวตนของผีในวัฒนธรรมลาวครั่งสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมธรรมชาติและสภาพแวดล้อม สรรค์สร้างของสถาปัตยกรรมท้องถิ่น. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ศรีศักร วัสลิโภดม. (2527). การนับถือผีในเมืองไทย. วารสารเมืองโบราณ. 5(4), 6-17.
สำลอง อินแสน, (2561). สัมภาษณ์. 9 มิถุนายน.
ห่อ จวงสอน. (2560). สัมภาษณ์. 12 มิถุนายน.
เอมีล ดูร์กายม์. (2563). ทฤษฎีหลักของสังคมวิทยา. (ออนไลน์). htp:/www.udru.ac.thVoldsite/attachments/ elearning/02/15.pdf. (8 มิถุนายน 2563). พาณิชย์.
Abstract: An academic article on belief behind shost worship dance ritual in the yearly ceremony is a presentation of belief and ritual expression to the spirits believed to be ancestors and former heroic heroes who had performed good deeds, protecting children and grandchildren from harm during evacuation. When those ancestors died, seven towers were built for their spirits with military attendants and servants and for providing spiritual support to the descendants. The ghost worship ceremony is held every year believed that it is an expression of gratitude by offering sacrifices in order to request for protection throughout the year, and the worship has to be done every year until the death of the heirs. The Ghost Worship Dance Ritual is an expression believed to be an entertainment offering for the ghost to watch while eating offerings and it is believed that the ghost is satisfied and brings happiness, safety, and prosperity for the family.
บทความวิชาการเรื่อง ความเชื่อเหนื่อพีธีกรรม ฟ้อนถวายฝัในพีซีเลี้ยงปี เป็นการนำเสนอเรื่องราวด้านความเชื่อ และการแสดงออกทางพิธีกรรม ต่อวิญญาณของฝีที่เชื่อว่าเป็นบรรพบุรุษเป็นวีรบุรุษ เป็นเจ้านายฝ่ายใน ขณะมีชีวิตอยู่ได้ทำ คุณงามความดี คุ้มครองปกปักรักษาลูกหลานลาวครั้ง ให้แคล้วคลาดปลอดภัยขณะมีการอพยพเคลื่อนย้าย เมื่อเสียชีวิตลงจึงมี การสร้างหอไว้ให้ 7 หลัง พร้อมด้วยบริวารทหาร คนรับใช้ ให้สถิตเป็นที่พึ่งทางจิตใจและจะจัดพิธีเลี้ยงฝึให้ทุกปี เชื่อว่าเป็น การแสดงความคารพตัญญูต่อสิ่งนับถือด้วยการถวายเครื่องสัการะ การร้องขอ อ้อนวอน ให้คุ้มครองตลอดปี๋และจะต้องทำ พีธีทุกปีจนกระทั่งเสียชีวิต การฟ้อนถวายฝึ เป็นการแสดงออกที่เชื่อว่าเป็นการถวายความรื่นรมย์ ความบันเทิงให้ผีได้ชมขณะ กำลังเสวยเครื่องเช่นหว้ และมีความเชื่อว่า ผีกิดความงพอใจและจะลบันดาลให้เกิดความสุข ความปลอดภัยและความ เจริญรุ่งเรืองในครอบครัว
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/932
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
72.pdf2.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.