Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/903
Title: Smart camera-mounted base for tracking users
Authors: Phewkham, Tanchanok
Jaitui, Rangsiman
Jaroenchittakam, Pasut
Suksakulchai, Surachai
ธัญชนก ผิวคำ
รังสิมันตุ์ ใจตุ้ย
ภาสุทธิ์ เจริญจิตรกรรม
สุรชัย สุขสกุลชัย
Keywords: Smart camera base
Microcontroller
Motion Sensor
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: จิตราภรณ์ ชั่งกริส. (2559). การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เพื่อการเรียนรู้ตามแนวคิด Flipped Classroom เรื่องการตรวจ ร่างกาย รายวิชาการประเมินภาวะสุขภาพ. ปริญญานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสาร การศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ชนินทร์ ตั้งพานทอง. (2560). ปัจจัยที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนออนไลน์เพื่อเสริมการเรียนการสอน. วิทยานิพนธ์ปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
ปิญญ์สลิชา เจริญพูล. (2561). รูปแบบและวิธีการถ่ายทดสดผ่านเฟสบุ๊ค ของร้านขายสินค้าแฟชั่นออนไลน์. วิทยานิพนธ์ ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
พิชญา เพิ่มไทย และอนุรักษ์ อาทิตย์กวิน. (2557). การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยใช้วีดีทัศน์ประกอบการสอน รายวิชา การจัดการผลิตภัณฑ์ชุมชนสำหรับตลาดต่างประเทศ. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 2 (2), 97-104.
วิจารณ์ พานิช. (2556). ครูเพื่อศิษย์ สร้างห้องเรียนกลับทาง. (พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี: บริษัท เอส.อาร์.พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์ จำกัด.
สุทัศน์ ชำนาญดู. (2560). ขั้นตอนการทำ VTR เพื่อใช้ในการโปรโมทรายการต่าง ๆ ของบริษัท ไฮสตาร์ ชาแนล จำกัด. ค้น เมื่อ 27 พฤษภาคม 2563 จาก https://e-research.siam.edu/wp-content/uploads/2019/06/Commu-Arts- Advertising-2017-coop-The-process-of-VTR-to-promote-the-programs-produced-by-High-Star-Channel- Company-Ltd-compressed.pdf
สำนักการศึกษาและนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (2563). การใช้งานโปรแกรมสำหรับการจัดการเรียน ก า ร ส อ น อ อ น ไ ล น์. ค้น เ มื่อ 2 8 พ ฤ ษ ภ า ค ม 2 5 6 3 จ า ก h t t p : / / h smi . p s u . a c . t h / w p - content/uploads/2020/03/Zoom_Manual_psu.pdf
อุมาพร แก้วทา. (2558). การพัฒนาบทเรียนผ่านสมาร์ทโฟนตามแนวคิดองค์กรแห่งการเรียนรู้ เรื่องการพัฒนาเว็บไซต์ สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและ สื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
Breslow, L., Pritchard, D., DeBoer, J., Stump, G., Ho, A., & Seaton, D. (2013). Studying Learning in the Worldwide Classroom Research into edX’s First MOOC. Retrieved May 27, 2020, from https://doi.org/10.1007/BF01173772.
Cuaca, D., Dhaniar A. & Udiana, P. (2017) Basic Japanese Grammar and Conversation e-learning through Skype and Zoom Online Application. Retrieved May 28, 2020, from www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1877050917321038.
Abstract: The objective of this research is to build a low cost smart camera-mounted base for tracking users for uses in live recording or online teaching. The camera-mounted base can be used to detect the position of a user or instructor who is teaching in front of the class by using three motion sensors (PIR) that are installed 5 centimeters apart horizontally. With this configuration, It can create 5 sensing zones which are far left, left, middle, right and far right zones. When the smart camera-mounted base can specify the position of the user, it will rotate the camera to the position where the user is. The best detecting distance is within a three-meters range. In addition, the smart camera-mounted base can be controlled wirelessly so that the camera is pointing in a predetermined direction, such as a projector screen. From the test results, the smart camera-mounted can operate as designed and track a user’s movement at speeds of not more than 1 m / s and at a distance between 2 and 4 meters away.
วัตถุประสงค์ในงานวิจัยนี้คือการสร้างฐานกล้องอัจฉริยะราคาประหยัด สำหรับการติดตามผู้สอนเพื่อใช้ในงานบันทึก การสอนหรือการสอนออนไลน์แบบถ่ายทอดสดได้ โดยตัวฐานกล้องจะสามารถตรวจจับตำแหน่งของผู้สอนที่อยู่หน้าชั้นเรียนได้ โดยใช้เซ็นเซอร์ตรวจจับการเคลื่อนไหว (PIR) จำนวนสามตัวที่ติดตั้งห่างกัน 5 เซนติเมตรในแนวราบ เพื่อให้เกิดการแบ่งโซนได้ 5 โซน คือโซนซ้ายสุด ซ้าย กลาง ขวา และขวาสุด เมื่อฐานกล้องอัจฉริยะสามารถระบุตำแหน่งของผู้สอนได้แล้วจะทำการหมุน หน้ากล้องไปยังตำแหน่งที่ผู้สอนยืนอยู่ โดยระยะตรวจจับที่ดีที่สุดจะอยู่ในระยะสามเมตร นอกจากนั้นฐานกล้องอัจฉริยะยัง สามารถควบคุมแบบไร้สายเพื่อให้กล้องหันไปในทิศทางที่ได้กำหนดเอาไว้ล่วงหน้าเช่น จอโปรเจคเตอร์ เป็นต้น จากผลการ ทดสอบพบว่าตัวฐานกล้องอัจฉริยะสามารถทำงานได้ตามที่ออกแบบไว้ โดยสามารถติดตามผู้ใช้งานที่กำลังเคลื่อนที่ด้วย ความเร็วไม่เกิน 1 เมตร/วินาที และที่อยู่ห่างกันในระยะ 2-4 เมตร
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/903
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.