Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/892
Title: Predict amount of PM2.5 by using Data Mining – Time series techniques Case Study: Pathum Wan District, Bangkok
การพยากรณ์ปริมาณฝุ่น PM2.5 โดยใช้วิธีวิเคราะห์อนุกรมเวลาด้วยเทคนิคเหมืองข้อมูล กรณีศึกษา: กรุงเทพฯ เขตปทุมวัน
Authors: Laohapaitoon, Napat
Suwanasophon, Thanakorn
Runrana, Tusaphum
Phaisanpayak, Nitinai
ณภัทร เลาหไพฑูรย์
ธนกร สุวรรณโสภณ
ทัศภูมิ รันระนา
นิตินัย ไพศาลพยัคฆ์
Keywords: Time Series Analysis
Amount of Pollution PM2.5
Data Mining
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: จินตนา ประชุมพันธ์. (2561). PM2.5 ฝุ่นละอองขนาดเล็กในอากาศ กับวิกฤตสุขภาพที่คนไทยจะต้องแลก. ค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2562 จาก https://thestandard.co/pm-2-5-environmental-nano-pollutants/
พิสุทธิ์ เพียรมนกุล. (2562). สาเหตุที่แท้ของ PM 2.5 เรียนรู้ เข้าใจ ป้องกัน ไม่ตื่นตระหนก. ค้นเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2562 จาก https://www.khaosod.co.th/pr-news/news_2171737
วิษณุ อรรถวานิช. (2562). ต้นทุนของสังคมไทยจากมลภาวะทางอากาศและมาตรการณ์รับมือ. ค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2562 จาก https://www.prachachat.net/columns/news-291113
วีระยุทธ พิมพาภรณ์, ปรียาภรณ์ พูลทอง และ บุษกร แก้ววิเชียร. (2559). การพยากรณ์ปริมาณน้ำไหลเข้าอ่างเก็บน้ำโดยใช้ วิธีวิเคราะห์อนุกรมเวลาด้วยเทคนิคเหมืองข้อมูล. อาจารย์ประจำ หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต ภาควิชาวิทยาการ คอมพิวเตอร์ และสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ ศรีราชามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศรีราชา.
Amnuaysak Thoonsiri (2562). ควันขาวผสมควันดำ กรรมของคนกรุงเทพฯ. ค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2562 จาก https://www.thairath.co.th/news/local/1488207"1488207
Cai, T.T., Hall, P., & others. (2006). Prediction in functional linear regression. The Annals of Statistics. 34(5), 2159-2179.
Ghorbanian, J., Ahmadi, M., & Soltani, R. (2011). Design predictive tool and optimization of journal bearing using neural network model and multi-objective geneticalgorithm. Scientia Iranica. 18(5): 1095 -1105.
Shevade, S. K., Keerthi, S. S., Bhattacharyya, C., & Murthy, K. R. K. (2000). Improvements to the SMO algorithm for SVM regressioan. IEEE Transactions on Neural Networks. 11(5): 1188 – 1193.
Smola, A. J., & Schölkopf, B. (2004). A tutorial on support vector regression. Statistics and Computing.
Thanyaporn Bunthong (2561). ฝุ่น: เหตุใดสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก จึงพุ่งสูงขึ้นมาอีกครั้ง. ค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2562 จาก https://www.bbc.com/thai/thailand-46643980"46643980
Abstract: PM2.5 dust is tiny particles that directly enter the body. In past year PM2.5 is higher than measure that Pollution Control Department set. Researchers study to forecast amount of PM2.5 by using Data Mining technique and by follow working order of CRISP-DM. Researcher using 3 algorithm Linear Regression ,Multilayer Perceptron ,Support Vector Machine, after data preparation use WEKA program to get the result of forecast. Algorithm Support Vector Machine is the highest accurate at 64.76%. After this can bring this model to forecast amount of PM2.5 in other district for surveillance and problem resolution
ฝุ่นละออง PM2.5 เป็นฝุ่นขนาดที่เล็กสามารถเข้าสู่ร่างกายได้โดยตรง ในช่วงปีที่ผ่านมาค่าฝุ่น PM2.5 ได้สูงเกินค่า มาตรฐานที่กรมควบคุมมลพิษและสิ่งแวดล้อมกำหนด ผู้วิจัยจึงได้ทำการวิจัยเพื่อพยากรณ์ปริมาณของฝุ่น PM2.5 โดยใช้ เทคนิคเหมืองข้อมูล และใช้ขั้นตอนการทำงานของ CRISP-DM ซึ่งผู้วิจัยได้ศึกษาและเลือกใช้อัลกอริทึม 3 ตัวได้แก่ การ ถดถอยเชิงเส้น แบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียมแบบเพอร์เซปตรอนหลายชั้น ซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีนสำหรับการถดถอย มาใช้งาน โดยหลังจากเตรียมข้อมูลได้ใช้โปรแกรม WEKA ในการคำนวนหาผลการพยากรณ์ โดยอัลกอริทึมซัพพอร์ตเวกเตอร์ แมชชีนสำหรับการถดถอยให้ค่าความแม่นยำสูงสุดที่ 64.76% จึงสามารถนำแบบจำลองไปพยากรณ์ค่าฝุ่นละออง PM2.5 ใน เขตอื่นๆเพื่อเฝ้าระวังพร้อมแก้ไขปัญหาต่อไป
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/892
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.