Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/881
Title: The development of a chatbot system for information service of Urban Community Health Center, Nakhon Pathom Rajabhat University
การพัฒนาระบบแชทบอทสำหรับการให้บริการข้อมูลของศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
Authors: Saelim, Suksawat
Noumjaisuk, Porntep
สุขสวัสดิ์ แซ่ลิ่ม
พรเทพ น้ําใจสุข
Keywords: line application
chatbot
urban community health center
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2562). สถิติประชากรศาสตร์ ประชากรและเคหะ. ค้นเมื่อ 1 มิถุนายน 2562 จาก http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/01.aspx
ดร.กลกรณ์ วงศ์ภาติกะเสรี และคณะ. (2561). แชทบอทจับใจ คัดกรองผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า. ค้นเมื่อ 1 มิถุนายน 2562 จาก https://techsauce.co/tech-and-biz/jubjai-depression-detection-chatbot
วิมล กิตติรักษ์ปัญญา และกันยาลักษณ์ โพธิ์ดง. (2562). ระบบการสนทนาอัตโนมัติเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิง ประวัติศาสตร์ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา.การประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฏกรุงเก่า” ประจำปี พ.ศ. 2562, มหาวิทยาลัยราชพระนครศรีอยุธยา, 409-413.
ชุมพล โมฆรัตน์ รางคณา อุ่นชัย และสุกัญญา มารแพ้. (2559). พัฒนาแอปพลิเคชันแชทบอทเพื่อการวินิจฉัยโรคเบาหวาน ด้วยออนโทโลยี. การประชุมวิชาการระดับนานาชาติทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ครั้งที่ 20, มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 519-524.
พิสุทธา อารีราษฎร์. (2551). การพัฒนาซอฟท์แวร์ทางการศึกษา. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
Abstract: An urban community health center is an organization that helps promote and support healthy of local people. It is aimed at reducing congestion and waiting time which occur in large hospitals. There are only a few staff on duty to provide general information service at the center so that a ratio between clients and staff was not suitable. Moreover, information service was usually limited only during business hours. The objective of this research is to introduce a chatbot system that can provide general information of the urban community health center at Nakhon Pathom University to its clients. The provided information includes time, location, telephone number, treatment service, doctor's schedule, doctor’s information, self-preparation before treatment and health care. It is aiming at increasing a channel of communication in a situation where there are very few officials. In addition, it also allows users receive information throughout the day which can increase customer satisfaction and create a positive image for the organization.
ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองเป็นหน่วยงานที่ช่วยส่งเสริมและสนับสนุนให้คนมีสุขภาพดี ช่วยลดความแออัด ลดการรอ คอยที่เกิดขึ้นกับโรงพยาบาลขนาดใหญ่ โดยมีเจ้าหน้าที่และพยาบาลคอยให้บริการข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ ของศูนย์สุขภาพ ชุมชนเมือง แต่อย่างไรก็ตามจากการศึกษาสภาพปัญหาเบื้องต้นพบว่า ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองมีอัตราส่วนระหว่างจำนวน ผู้รับบริการกับเจ้าหน้าที่พยาบาลไม่เหมาะสมเพียงพอต่อการให้บริการ การให้บริการต่าง ๆ ก็มักจะถูกจำกัดอยู่ในช่วงเวลา ทำการ ผู้รับบริการก็มักจะถามคำถามซ้ำ ๆ เข้ามา งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์ที่จะใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาช่วยลดภาระของ เจ้าหน้าที่และพยาบาล โดยการพัฒนาระบบแชทบอทที่สามารถให้บริการสารสนเทศของศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม เช่น เวลาทำการ สถานที่ตั้ง หมายเลขโทรศัทพ์ติดต่อ บริการตรวจ ตารางการตรวจของแพทย์ ข้อมูลเกี่ยวกับแพทย์ การเตรียมตัวก่อนมาพบแพทย์หรือตรวจรักษา การดูแลสุขภาพ เพื่อเพิ่มช่องทางการสื่อสารกับ ผู้รับบริการให้ดียิ่งขึ้นในภาวะกำลังคนน้อย ไม่สมดุลกับผู้รับบริการที่มากขึ้น อีกทั้งยังช่วยให้ผู้รับบริการได้รับข้อมูลได้อย่าง รวดเร็วตลอด 24 ชั่วโมง เพิ่มความพึงพอใจให้แก่ผู้รับบริการ รวมถึงเกิดภาพลักษณ์เชิงบวกต่อหน่วยงานด้วย จากผลการประเมินความพึงพอใจการใช้ระบบของกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้รับบริการ ณ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม จำนวน 30 คน พบว่ามีความพึงพอใจเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับมาก นอกจากนี้ระบบแชทบอทที่ ได้รับการพัฒนาขึ้นยังสามารถเป็นระบบต้นแบบเพื่อการพัฒนาต่อยอดหรือเผยแพร่ไปสู่การใช้งานสำหรับศูนย์สุขภาพชุมชน เมืองอื่น ๆ หรือโรงพยาบาลขนาดใหญ่ได้
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/881
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.