Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/839
Title: Happiness of Staff at a Community Hospital
ความสุขในการทำงานของบุคลากรโรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง
Authors: Chanpeng, Suttisa
Pobkeeree, Vallerut
สุทธิสา จันทร์เพ็ง
วัลลีรัตน์ พบคีรี
Keywords: Happiness
Descriptive study
Community Hospital
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: Diener, E., & Suh, E. M. (2003). Culture and subjective well-being: MIT press.
Khosrojerdi, Z., Tagharrobi, Z., Sooki, Z., & Sharifi, K. (2018). Predictors of happiness among Iranian nurses. International journal of nursing sciences, 5 (3), 281-286.
Larsen, R. J., & Eid, M. (2008). Ed Diener and the science of subjective well-being. The science of subjective well-being, 1-13.
Manion, J. (2003). Joy at work! Creating a Positive Workplace. Journal of Nursing Administration, 33 (12), 652-659.
Mongkol, A., Huttapanom, W., Chetchotisakd, P., Chalookul, W., Punyoyai, L., & Suvanashiep, S. (2001). The study to develop Thai Mental Health Indicator. J Psychiatr Assoc Thailand, 46 (3), 209-225.
Napim, C., Bouphan, P., & Apipalakul, C. (2018). Personal Characteristics and Motivation Affecting The Happiness at Work of Health Personnel at Sub-District Health Promoting Hospitals in Phetchabun Province. KKU Research Journal (Graduate Studies), 18 (4), 154-166.
Pala-ard, W., & Lerngvijit, N. (2018). Predictors Pleasure in the Work of Health Personnel in Satun. KKU Research Journal (Graduate Studies) Humanities and Social Sciences, 6 (3), 20-28.
Sirinan, K., Kanchana, T., Suporn, J., Chalermpol, S., Porta, B., & Wannapa, A. (2012). HAPPINOMETER: The Happiness Self-Assessment. Bangkok: Institute for Population and Social Research, Mahidol University.
Soopunpitag, S. (2017). Knowledge in Depressive Disorder between Two Villages in Hangdong District. Academic Psychiatry and Psychology Journal, 33 (3), 250-261.
Warr, P. (1990). The Measurment of well- being and other aspect of mental Health Journal of Occupational Psychology, 1990 (63), 193-210.
จรัมพร โห้ลำยอง, ศิรินันท์ กิตติสุขสถิต, เฉลิมพล แจ่มจันทร์, & กาญจนา ตั้งชลทิพย์. (2556). รายงาน สถานการณ์ความสุข คนทำงานในประเทศไทย ปีที่ 2: รอบครึ่งปีแรก (มกราคม-มิถุนายน พ. ศ. 2556).
เฉลิมพล แจ่มจันทร์, กาญจนา ตั้งชลทิพย์, จรัมพร โห้ลำยอง, & ศิรินันท์ กิตติสุขสถิต. (2555). รายงานสถานการณ์ความสุข คนทำงานในประเทศไทย ปีที่ 1 รอบครึ่งปีแรก (มกราคม - มิถุนายน พ.ศ. 2555).
ชนิกามาศ ดุงโคกกรวด. (2552). การบริหารความเครียดบุคลากรสาธารณสุข กรณีศึกษา: โรงพยาบาลด่านขุนทด จังหวัด นครราชสีมา. สารนิพนธ์ปริญญาธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชมงคลอิสาน.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2561). สรุปผลเบื้องต้น การสำรวจความสุขคนทำงาน (ในองค์กร) พ.ศ. 2561. ค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2563, จาก shorturl.at/oBOQX
อภิชัย คุณีพงษ์, พรเจริญ บัวพุ่ม, & ศิรินุช จันทวี. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การ ความฉลาดทางอารมณ์ กับความสุขในการทำงานของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนของจังหวัดชัยนาท. วารสารการพยาบาลและ การศึกษา, 11(1), 15.
อภิญญา ศรีจันทร์. (2555). ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลบำรุงราษฏร์ อินเตอร์เนชั่นแนล. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.
อภิศฎา แก้วมีศรี. (2556). ความสุขในการทำงานของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับปฐมภูมิจังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์ ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.
อรัญญา ร่มโพธิ์เงิน. (2556). ความสุขในการทำงานของบุคลากรศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร มหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.
อัครสรา สถาพรวจนา. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนจากครอบครัว บรรยากาศจริยธรรมในงาน กับความสุขใน การทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร. วารสารพยาบาลทหารบก, 11 (1), 37-42.
Abstract: This research is a descriptive study. The objective was to study the happiness level of all staff at a community hospital. The sample consisted of 122 population of a community hospital. Data were collected by using self-administered questionnaires. Data collection period was between March and April 2019. 90 questionnaires were received, or 73.8% response rate. The Questionnaire was Happinometer which was a tool developed by the Institute for Population and Social Research, Mahidol University. The questionnaire had Cronbach Reliability 0.78. The data was analyzed using descriptive statistics. The results showed that from the Happinometer, which has nine dimensions, namely 1) Healthy dimension 2) Relaxing dimension 3 A) Good kindness dimension 4) Good spirit dimension 5) Good family dimension 6) Good social dimension 7) Good knowledge dimension 8) Good financial dimension and 9) Good work dimension. Overall happiness is at high level (xˉ = 71, SD = 6.39, Min - Max = 50 - 87). The fifth dimension, Good family dimension had the highest mean and was at a very happiness level. It had an average score of 87 out of 100. The study may conclude that family is very important to personnel at community hospital which may be a factor affecting hospital work performance. Further study may be conducted in the future.
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความสุขในการทำงานของบุคลากรใน โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง โดยมีกลุ่มตัวอย่างคือกลุ่มประชากรทั้งหมดของบุคลากรที่โรงพยาบาลชุมชน จำนวน 122 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ระยะเวลาในการเก็บข้อมูลระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2562 ได้รับ แบบสอบถามทั้งสิ้น 90 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 73.8 แบบสอบถามความสุขในการทำงานปรับจากเครื่องมือ Happinometer ซึ่งพัฒนาโดยสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งในการวิจัยนี้แบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.78 วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติพรรณนา (descriptive statistics) ผลการศึกษาพบว่าจากแบบวัด Happinometer ที่แบ่งการวัดเป็น 9 มิติคือ1) มิติสุขภาพดี 2) มิติผ่อนคลายดี 3) มิติน้ำใจดี 4) มิติจิตวิญญาณดี 5) มิติครอบครัวดี 6) มิติสังคมดี 7) มิติใฝ่รู้ดี 8) มิติการเงินดี และ9) มิติการงานดีนั้น ความสุขในการทำงานโดยรวมอยู่ในระดับมีความสุข (xˉ = 71, S.D.= 6.39, Min – Max = 50 – 87) มิติที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดและอยู่ในระดับมีความสุขมาก (very happy) คือมิติที่ 5 ครอบครัวดี ซึ่งมีคะแนนค่าเฉลี่ย 87 จาก 100 คะแนน ซึ่งจากการศึกษาอาจสรุปได้ว่าครอบครัวมีความสำคัญต่อบุคลากรโรงพยาบาลชุมชนเป็นอย่างมากซึ่ง อาจเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานในการให้บริการซึ่งอาจมีการศึกษาวิจัยในขั้นต่อไปได้ในอนาคต
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/839
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.