Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/383
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวิเชียรตนนท์, ศุภรัสมิ์-
dc.date.accessioned2018-12-11T04:52:02Z-
dc.date.available2018-12-11T04:52:02Z-
dc.date.issued2560-09-28-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/383-
dc.description.abstractหลักการเรียนรู้ของเด็กวัยก่อนเรียนคือ “เล่นคือเรียน เรียนคือเล่น” ในขณะที่เล่นนั้นเด็กจะค้นพบตัวเอง ค้นพบ ความสามารถในการเรียนรู้ในการทำงาน การแก้ปัญหา ซึ่งการจัดการเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมอง หรือ BBL (Brain-based Learning) เป็นหัวใจสำคัญของการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพัฒนาการด้านโครงสร้าง และการทำงานของสมอง ให้เหมาะสมกับทุกช่วงวัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดการเรียนรู้ให้ส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์จะมีประสิทธิภาพสูงถ้าสามารถ ดำเนินการตามแนวทางการส่งเสริมพัฒนาการทางด้านอารมณ์เด็กวัยก่อนเรียนผ่านการจัดการเรียนรู้ที่ใช้สมองเป็นฐาน ให้เด็ก วัยก่อนเรียนสามารถจัดการกับอารมณ์ สามารถใช้ศักยภาพของอารมณ์เสริมการเรียนรู้ได้โดยผ่านความสนใจ ความเข้าใจ สมองรับรู้จากสื่อสัมผัสทั้งหมดและสร้างความเข้าใจขึ้น ร่วมถึงการสอดแทรกกิจกรรมร่วมกับปราญ์ชาวบ้าน นำใช้ภูมิปัญญา ท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม โดยกระตุ้นให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ อย่างต่อเนื่อง ย่อมทำให้ชุมชนนั้นมีเด็กวัยก่อนเรียนมีพัฒนาการทางด้านอารมณ์ที่สมบูรณ์แบบ สามารถช่วยสืบทอดและพัฒนา ภูมิปัญญาของท้องถิ่นต่อไปen_US
dc.subjectพัฒนาการทางอารมณ์ เด็กวัยก่อนเรียน การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชนen_US
dc.titleแนวทางการส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ของเด็กวัยก่อนเรียน โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน Model for the Promotion of Pre-School Child Emotional Development on Behavioral Violence with Family and Community Participationen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 11th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
66.ศุภรัสมิ์ วิเชียรตนนท์.pdf513.37 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.