Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1249
Title: | Mobile Device Usage, Satisfaction and Loyalty of Free Independent Traveler in Tour Package Purchasing in Triangle Andaman Cluster Provinces การใช้อุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่ ความพึงพอใจและความภักดีของลูกค้ากลุ่มนักท่องเที่ยวอิสระ ในการซื้อโปรแกรมท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัดสามเหลี่ยมอันดามัน |
Authors: | Sirirak, Sirawit Soonsan, Nimit Veerayangkul, Montri ศิรวิทย์ ศิริรักษ์ นิมิต ชุ้นสั้น มนตรี วีรยางกูร |
Keywords: | Mobile Device Usage Satisfaction Loyalty Free Independent Traveler Tour Package Purchasing |
Issue Date: | 9-Jul-2020 |
Publisher: | Nakhon Pathom Rajabhat University |
Citation: | กัลยา วานิชย์บัญชา. (2548). หลักสถิติ. พิมพ์ครั้งที่ 8 : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ณัฏฐา อุ่ยมานะชัย. (2556). ผู้ทรงอิทธิพลในโลกออนไลน์กับพลังการบอกต่อ. วารสารนักบริหาร, 33(3), หน้า 47-51. นิตนา ฐานิตธนกร (2555). อิทธิพลของการบอกต่อบนโลกอินเทอร์เน็ต. วารสารนักบริหาร. ปีที่ 1 ฉบับที่ 33, หน้า 17-22 ทักษิณ ปีลวาสน์. (255 6, กรกฎาคม-ธันวาคม). ยุทธศาสตร์การส่งเสริมอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจขุมชน ในเขตสามเหลี่ยมอันดามัน. วารสารสักทอง: วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 19(12), 21-32. เศรษฐพงค์ มะลิสุรรณ. (2555). ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่, [อ้างอิงจากเว็บไซต์] http://www.guru-ict.com/ ศิวศักดิ์ ปานสุขขุม. (2559). แนวทางการส่งเสริมและพัฒนาตลาดนักท่องเที่ยวชาว ตะวันออกกลาง. การศึกษาค้นคว้า ด้วยตัวเอง สาขาการวางแผนและการจัดการการ ท่องเที่ยวเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวีโร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จังหวัดกรุงเทพฯ. พจน์ กุลาตี มนตรี วีรยางกู และ ศิรวิทย์ ศีริรักษ์. (2561). ปัจจัยการตลาดดิจิทัลที่มีอิทธิพลต่อการสร้างความพึงพอใจและ ความภักดีแก่ลูกค้าในธุรกิจโรงแรมกลุ่มจังหวัดสามเหลี่ยมอันดามันประเทศไทย. วารสารสมาคมนักวิจัย. ปีที่23 ฉบับที่3 กันยายน - ธันวาคม หน้า 217-228 สุวิมล ติรกานันท์. (2548). การประเมินโครงการ : แนวทางสู่การปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Cochran, W.G. (1953). Sampling techniques. New York John Wiley & Sons. Inc. Nunnally, J. C.. & Bernstein, I. H. (1994) Psychometric theory (3rd ed.). New York, NY: McGraw-Hill, Inc. TAT Review. Who? Where? What? When? Why? นักท่องเที่ยวกลุ่มศักยภาพ, เว็บบล็อก]. สืบค้นจาก https://www.tatevewmagazine.com/article/who-where-what-when-why-2019/ |
Abstract: | The purpose of this research was to study the level of mobile device usage, satisfaction and
loyalty of free independent traveler (FIT) in tour package purchasing in triangle Andaman cluster
provinces. This research is a quantitative research. Questionnaires were used to collect data from a
sample of 500 Free Independent Travelers by using purposive sampling method. Quantitative data
analysis was performed by using descriptive statistics. The research showed that the samples had the
mobile device usage, satisfaction and loyalty in the much level. Most of them used mobile device for
tourist destination information searching, had the most satisfaction with the on-time and appropriation
of tour program. In loyalty, they preferred to "they will have attention to purchase the tour program
from the previous service provider although the pattern of service had changed and developed" for
repeated purchasing dimension. They also agree the most on "If their friends had looked for tour
program, they will recommend their favorite service provider as a first priority" in recommendation
dimension. งานริจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกยาระดับการใช้อุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่ ความพึ่งพอใจและความภักดีของลูกค้ากลุ่ม นักท่องเที่ยวอิสระในการซื้อโปรแกรมท่องเหี่ยวกลุ่มจังหวัดสามเหลี่ยมอันดามัน การวิจัยครั้งนี้ช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ ใช้ แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ โดยมีกลุ่มตัวอย่าง คือ นักท่องเที่ยวอิสระในกลุ่มจังหวัดภูเก็ต ฟังงาและกระบี่ จำนวน 500 คน ใช้ วิธีสุ่มตัวอย่างแบบแบบจาะจงและวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณน่า ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีการใช้ อุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่ ความฟังพอใจและความภักดีอยู่ในระดับมาก โดยมีการใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ในการทำกิจกรรมที่ เกี่ยวกับการซื้อโปรแกรมนำเที่ยวในด้านการสืบคันข้อมูลแหล่งท่องเหี่ยวมากที่สุด มีความพึงพอใจในด้านโปรแกรมการ ท่องเที่ยวเป็นไปตามที่กำหนดไว้มากที่สุด ด้านความภักดี พบว่า นักท่องเหี่ยวมีความคิดเห็นว่า "นักท่องเหี่ยวจะยังคงจะตั้งใจ ใช้บริการผู้ให้บริการธุรกิจนำเที่ยวที่ชื่นชอบ แม้ว่ารูปแบบการให้บริการมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไป " ในด้านการซื้อซ้ำ และ "หากมีบุคคลใกล้ชิดต้องการใช้บริการธุรกิจนำเที่ยว นักท่องเที่ยวจะแนะนำให้ใช้ผู้ให้บริการธุรกิจนำเที่ยวที่นักท่องเที่ยว ชื่นชอบ" ในด้านการบอกต่อ มากที่สุด |
URI: | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1249 |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ความพึงพอ.pdf | 182.66 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.