Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1236
Title: Teachers’ Opinions Towards the Internal Supervision of School Administrators Under the Jurisdiction of the Bangbon District Office, Bangkok Metropolis.
ความคิดเห็นของครูที่มีต่อการนิเทศภายในสถานศึกษาของผู้บริหาร ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตบางบอน กรุงเทพมหานคร
Authors: Promsorn, Sutida
Tharasrisudti, Pavida
สุธิดา พรมศร
ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ
Keywords: Supervision
The Internal Supervision
The School Administrators
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: วันวิสาห์ ไชยชนะ. (2560). กระบวนการนิเทศภายในโรงเรียนสะเมิงพิทยาคม จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น.
ศิริวรรณ ลี้กิจเจริญผล. (2559). การนิเทศเพื่อพัฒนาสมรรถนภาพการจัดการเรียนการสอน. วิทยานิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร
ทัศกร โนชัย. (2559). การดำเนินงานนิเทศภายในโรงเรียนวังสมบูรณ์วิทยาคม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.
นริศรา ธิราชรัมย์. (2558). ความต้องการการนิเทศภายในของครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยในโรงเรียนของอำเภอห้วยราช สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย ราชภัฎบุรีรัมย์.
สุรีรัตน์ หลิมเล็ก. (2558). ทักษะการนิเทศของผู้บริหารสถานศึกษากับสมรรถนะครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 8. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
เมธินี สะไร. (2560). การนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มสหพัฒนาอำเภอรือเสาะ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานราธิวาส เขต 1. การศึกษาค้นคว้าอิสระ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.
นนทพร พนาตรีสวัสดิ์. (2559). กลยุทธ์การนิเทศภายในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สังเวียน พิลาพันธ์. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างการนิเทศภายในกับประสิทธิผลการจัดกระบวนการเรียนรู้ของครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษาบุรีรัมย์เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์.
ต่อศักดิ์ เนียมวิลัย. (2559). แนวทางการนิเทศภายในของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครสวรรค์เขต 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์.
จริยา แตงอ่อน. (2559). รูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการสอนของครูในโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร.วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ปนัดดา ศิริพัฒนกุล. (2558). การศึกษาบทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในจังหวัดระยอง จันทบุรี และตราด. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี.
อามีเนาะ สาเล็ง. (2562). การนิเทศแบบร่วมพัฒนาของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การประถมศึกษายะลา เขต 3. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
วิไล กล้าหาญ. (2560). บทบาทของผู้บริหารโรงเรียนในการนิเทศภายในของโรงเรียนประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น.
สิรดา สายเพ็ชร. (2559). กลยุทธ์การนิเทศแบบร่วมพัฒนาวิชาชีพของครูในโรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิปัศยา เยี่ยวยา. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างการนิเทศภายในกับประสิทธิภาพการสอนของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัด ราชบุรี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง
ประทุม เนตรสุขแสง. (2557). ความพึงพอใจของครูที่มีต่อกระบวนการนิเทศ ภายในโรงเรียนของโรงเรียนสันต์เสริมวิทย์ จังหวัดสมุทรปราการ.วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
สุภัจฉรา กาใจ. (2562). แนวทางการบริหารปัจจัยที่ส่งผลต่องานนิเทศภายในของโรงเรียนนาโบสถ์พิทยาคม อำเภอวังเจ้า จังหวัดตาก. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
Abstract: In this research, the researcher studies and compares teachers’ opinions towards the Internal Supervision of School Administrators Under the Jurisdiction of the Bangbon District Office, Bangkok Metropolis, as classified by educational level and work experience. Extrapolating from the Cohen, Manion and MorrisonTable so as to determine appropriate sample size, the researcher selected a sample population consisting of 183 teachers employed at schools under the jurisdiction of the Bangbon District Office, Bangkok Metropolis, then employing the stratified random sampling method. The research Instrument was a five-rating scale questionnaire. Using techniques of descriptive statistics, the researcher analyzed the data collected in terms of frequency, percentage, mean, and standard deviation. At test technique and the one-way analysis of variance ( ANOVA) technique were alsoemployed by the researcher. When differences between groups were found, Scheffé’ s multiple comparison was additionally utilized by the researcher Findings are as follows: 1) The teachers were of the opinion that the internal supervision of school administrators under the jurisdiction of the Bangbon District Office, Bangkok Metropolis, in overall and each aspect were at the high. 2) The teachers who differed in educational level in their opinions toward the internal supervision of school administrators under the jurisdiction of the Bangbon District Office, Bangkok Metropolis, in overall and all aspects evince did not differences. The teachers who differed in work experience in their opinions toward the internal supervision of school administrators under the jurisdiction of the Bangbon District Office, Bangkok Metropolis in overall and each aspects evince did not differences.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูที่มีต่อการนิเทศภายในสถานศึกษาของ ผู้บริหารในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตบางบอน กรุงเทพมหานคร โดยจำแนกตามวุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในการ ทำงานกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตบางบอน กรุงเทพมหานคร จาก การเปิดตารางของ Cohen, Manion and Morrison ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 183 คน แล้วใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) มาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ สถิติที่ ใช้ในการวิจัย คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติการทดสอบ ค่าที (t – test) และการทดสอบความแปรปรวนทาง เดียว (One-way ANOVA) เมื่อพบความแตกต่างจึงทดสอบเป็นรายคู่ด้วยวิธีของ Scheff ผลการวิจัยพบว่า 1) ครูมีความ คิดเห็นต่อการนิเทศภายในสถานศึกษาของผู้บริหารในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขต บางบอน กรุงเทพมหานคร โดยภาพรวม และรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) ครูที่มีวุฒิการศึกษาต่างกันมีความคิดเห็นต่อการนิเทศภายในสถานศึกษาของผู้บริหารใน โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตบางบอน กรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน ส่วนครูที่มีประสบการณ์ใน การทำงานต่างกันมีความคิดเห็นต่อการนิเทศภายในสถานศึกษาของผู้บริหารในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตบางบอน กรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1236
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.