Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1216
Title: Feasibility study of investment in selling frozen ready-to-eat food through automatic vending machines: A case study of Bangkok
ความเป็นไปได้ในการลงทุนจำหน่ายอาหารพร้อมรับประทานแบบแช่แข็ง ผ่านเครื่องจำหน่ายอัตโนมัติ กรณีศึกษากรุงเทพมหานคร
Authors: Bangkar, Eknarin
Chanagul, Chittawan
เอกนรินทร์ บางข่า
ชิดตะวัน ชนะกุล
Keywords: Feasibility analysis
Frozen ready-to-eat food
Automatic vending machine
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2561. ร้ายงานการคาดการนวัตกรรมอุตสาหกรรมกลุ่มอาหารพร้อมทาน. (Online). http://stic.sti.or.th. มกราคม 2561.
กุลนันท์ นิลพันธุ์. 2559. การศึกษาความเป็นไปได้ด้านการเงินในการลงทุนธุรกิจร้านอาหารบริเวณแนวโครงการรถไฟฟ้า สายสีม่วง สถานีวงศ์สว่าง. การศึกษาค้นคว้าอิสระเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษธูศาสตร์ธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
จันทรัตน์ ศรีสว่าง. 2557. การวิเคราะห์ความคุ้มค่ทางการเงินของการลงทุนในการจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้า ประเภท อาหารแช่เย็นในจังหวัดภูเก็ต. การศึกษาคันคว้าอิสระเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ณัฐวดี ภาวนาวิวัฒน์. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับและการใช้เครื่องจำหน่ายสินค้าอัตโนมัติ (VENDING MACHINE)ของ กลุ่มมิลเลนเนียลและเจอเรชั่นซีในประเทศไทย. การค้นคว้าอิสระ วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิซาการบริหาร การตลาดพาณิชยศาสตร์และการบัญชี, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พิมพรรณ กำใจ. 2561. ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้ออาหารพร้อมรับประทานแบบแซ่แข็งของผู้บริโภคในเขต กรุงเทพมหานคร. การศึกษาค้นคว้าอิสระเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจการเกษตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ภัทรภร อัครพัฒนากูล. 2559. ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์อาหารแช่เย็นของเซเว่นอีเลฟเว่นของประชากร ในเขตกรุงเทพมหานคร. การศึกษาค้นคว้าอิสระ เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
วัชระ เชิญไชย. 2557. พฤติกรรมและปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจซื้อเครื่องดื่มทาง เครื่องจำหน่ายสินค้าอัตโนมัติในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ. สาขาการจัดการวิสาหกิจสำหรับผู้บริหาร, สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น.
ศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมสถาบันอาหาร. 2559. แนวโน้มมูลคำตลาดอาหารพร้อมรับประทานในประเทศไทย. (Online). http:/fic.nfi.or.th/MarketOverviewDomesticDetail.phpid= 124#. ตุลาคม 2561
หฤทัย มีนะพันธ์ 2550. หลักกรวิเคราะห์โครงการ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: The objective of this research was to conduct the financial feasibility analysis of the project, in terms of feasibility and sensitivity of investment in selling frozen ready-to-eat food through automatic vending machines in Bangkok The primary and secondary data was collected for the financial feasibility analysis, employing net present value (NPV), internal rate of return (IRR), benefit cost ratio (BCR), payback period (PB), , and switching value test (SVT). It was assumed that the project lasted for 10 years and the discount rate was 5.07%. The study was divided into 3 cases. The first case was the investment, controlling cost of goods sold at 50%. The second case was the investment with cost of goods sold at 65%. The third case was that when the products sales decreased sales volume at the cost of 50%. Under the discount rate of 5.07%, it was found that the first case was the most feasible scenario with net present value of 18,525,776.09 baht, internal rate of return 35.66%, and benefit to cost ratio of 1.19. The Payback period was equal to 3 years 4 months. Referring to the sensitivity analysis, the project cost sensitivity could be increased by 19.26% or benefits decreased by 16.15%, resulting in the net present value of the project equal to zero.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางการเงินของโครงการ โดยพิจารณาความคุ้มค่า ความ อ่อนไหว ในการลงทุนจำหน่ายอาหารพร้อมรับประทานแบบแช่แข็ง ผ่านเครื่องจำหน่ายอัตโนมัติ ในเขตกรุงเทพมหานคร โดย รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ และข้อมูลทุติยภูมิ เพื่อนำมาวิเคราะห์ความคุ้มค่าของโครงการ ด้วยเครื่องมือ มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) อัตราผลตอบแทนภายในโครงการ (IRR) อัตราผลประโยชน์ต่อต้นทุน (BCR) ระยะเวลาคืนทุน (PB) ความอ่อนไหวของ โครงการ (SVT) โดยสมมติให้โครงกรมีอายุ 10 ปี และใช้อัตราคิดลดร้อยละ 5.07 โดยแบ่งกรณีศึกษาเป็น 3 กรณี ได้แก่ กรณีแรกการลงทุนโดยควบคุมตันทุนสินค้าเพื่อขายอยู่ที่ร้อยละ 50 กรณีที่สองลงทุนโดยต้นทุนสินค้าเพื่อขายอยู่ที่ร้อยละ 65 และกรณีที่สามรายได้จากการจำหน่ายสินค้าลดลงจากปริมาณสินค้าที่จำหน่ายได้ต่อวันลดลงร้อยละ 33.34 โดยมีตันทุนสินค้า เพื่อขายร้อยละ 50 จากผลการศึกษาความคุ้มค่าในการลงทุน พบว่า กรณีแรกมีความมีความคุ้มค่ามากที่สุด โดยมีมูลค่า ปัจจุบันสุทธิ 18,525, 776.09 บาท อัรผลตอบแทนภายในร้อยละ 35.66 อัตราส่วนผลประโยชน์ต่อตันทุน 1.19 เท่า ะยะเวลาคืนทุน 3 ปี 4 เดือน ค่าความอ่อนไหวด้านตันทุนสามารถพิ่มขึ้นได้ร้อยละ 19.26 หรือผลประโยชน์สดลงได้ร้อยละ 16.15 จึงส่งผลให้มูลค่าปัจจุบันสุทธิของโครงการเท่ากับศูนย์
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1216
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.