Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1215
Title: The study of the color from Natural Materials for Thai Painting.
การศึกษาวัตถุจากธรรมชาติที่ให้สี เพื่อใช้ในการสร้างสรรค์งานจิตรกรรมไทย The study of the color from Natural Materials for Thai Painting.
Authors: tonthongkam, Kangkrad
Sreesawas, Jidapa
เก่งกาจ ต้นทองคำ
จิดาภา ศรีสวัสดิ์
Keywords: Natural color
Color extraction process
Thai art
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: ตะวัน ตนยะแหละ และคณะ. (2560). การสร้างสรรค์สีย้อมธรรมชาติและลายผ้าเพื่อพัฒนาผ้าบาติกสู่ชุมชน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. นิโรจน์ จรุงจิตวิทวัส. (2561). เทคนิคในงานจิตรกรรมไทย. กรุงเทพฯ : นานมี. ประภากร สุคนธมณี. (2560). สีสันจากพันธุ์พฤกษา. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร. 37(3). 183-202. พรพิมล ม่วงไทย. (2555). การเตรียมผงสีจากพืช. กรุงเทพฯ : ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ไพรัตน์ ปุญญาเจริญนนท์ และคณะ. (2557). การพัฒนาการเตรียมสีผงจากสีย้อมธรรมชาติ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. ไพโรจน์ พิทยเมธี. (2551). การวิเคราะห์องค์ประกอบการออกแบบเลขนศิลป์ที่แสดงเอกลักษณ์ไทย. ปริญญานิพนธ์ศิลป มหาบัณฑิต สาขาการออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร. ____________.(2558). สีไทยโทน เสน่ห์ไทยเพิ่มมูลค่าธุรกิจ. กรุงเทพฯ : กระทรวงวัฒนธรรม. ภัทรานิษฐ์ สิทธินพพันธ์, เก่งกาจ ต้นทองคำ. (2557) การย้อมสีธรรมชาติ ชุมชนบ้านทัพคล้าย. นครปฐม: มิตรเจริญการ พิมพ์ ภัทรานิษฐ์ สิทธินพพันธ์, เก่งกาจ ต้นทองคำ. (2559) การจัดชุดโครงสร้าง “สีธรรมชาติผ้าทอ” เพื่อพัฒนาต้นแบบ ผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น. นครปฐม: มิตรเจริญการพิมพ์ สุพรรณี ฉายะบุตร และคณะ. (2559). การประยุกต์ใช้สีธรรมชาติจากใบมะม่วงในซิลิโคน. วารสารสาขาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยศิลปากร. 3(5). 22-31. อภิวันทน์ อดุลยพิเชฏฐ์. (2554). จิตรกรรมฝาผนังวัดคงคาราม. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ.
นิโรจน์ จรุงจิตวิทวัส. (2561). เทคนิคในงานจิตรกรรมไทย. กรุงเทพฯ : นานมี.
ประภากร สุคนธมณี. (2560). สีสันจากพันธุ์พฤกษา. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร. 37(3). 183-202.
พรพิมล ม่วงไทย. (2555). การเตรียมผงสีจากพืช. กรุงเทพฯ : ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ไพรัตน์ ปุญญาเจริญนนท์ และคณะ. (2557). การพัฒนาการเตรียมสีผงจากสีย้อมธรรมชาติ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.
ไพโรจน์ พิทยเมธี. (2551). การวิเคราะห์องค์ประกอบการออกแบบเลขนศิลป์ที่แสดงเอกลักษณ์ไทย. ปริญญานิพนธ์ศิลป มหาบัณฑิต สาขาการออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร.
____________.(2558). สีไทยโทน เสน่ห์ไทยเพิ่มมูลค่าธุรกิจ. กรุงเทพฯ : กระทรวงวัฒนธรรม.
ภัทรานิษฐ์ สิทธินพพันธ์, เก่งกาจ ต้นทองคำ. (2557) การย้อมสีธรรมชาติ ชุมชนบ้านทัพคล้าย. นครปฐม: มิตรเจริญการ พิมพ์
ภัทรานิษฐ์ สิทธินพพันธ์, เก่งกาจ ต้นทองคำ. (2559) การจัดชุดโครงสร้าง “สีธรรมชาติผ้าทอ” เพื่อพัฒนาต้นแบบ ผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น. นครปฐม: มิตรเจริญการพิมพ์
สุพรรณี ฉายะบุตร และคณะ. (2559). การประยุกต์ใช้สีธรรมชาติจากใบมะม่วงในซิลิโคน. วารสารสาขาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยศิลปากร. 3(5). 22-31.
อภิวันทน์ อดุลยพิเชฏฐ์. (2554). จิตรกรรมฝาผนังวัดคงคาราม. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ.
Abstract: This article presents on The study of the color from natural materials for Thai art. The objective is to study methods of extracting colors from natural objects. And to use the colors obtained from the extraction of natural materials to create Thai painting works This research has a scope to study natural objects, only the color groups derived from plants. The results of the study of natural objects that give color To study and select the colorant from 9 kinds of plants such as Fang, Turmeric, Golden Marigold, Mango, Indigo, Eucalyptus, Ratchaphruek and Coconut to extract the color through the process of boiling, fermenting and processing into natural color water. To precipitate in order to obtain the color powder, to study, analyze the relationship of the natural color and the creative process of Thai traditional painting Compare shades of natural and Thai colors to be used for creating traditional Thai painting.
บทความนี้นำเสนอการศึกษาวัตถุจากธรรมชาติที่ให้สี เพื่อใช้ในการสร้างสรรค์งานจิตรกรรมไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาวิธีการสกัดสีจากวัตถุธรรมชาติ และเพื่อนำสีที่ได้จากการสกัดจากวัตถุธรรมชาติมาใช้ในการสร้างสรรค์งานจิตรกรรมไทย โดยมีขอบเขตในการศึกษาวัตถุธรรมชาติเฉพาะกลุ่มสีที่ได้จากพืช ผลการศึกษาวัตถุธรรมชาติที่ให้สี ทำการศึกษาและคัดเลือก สารสีจากพืช จำนวน 9 ชนิด ได้แก่ ฝาง ขมิ้น ดาวเรือง รงทอง มะม่วง คราม ยูคาลิปตัส ราชพฤกษ์ และมะพร้าว นำมาสกัดสี ผ่านกระบวนการต้ม หมักและบด แปรรูปให้เป็นน้ำสีธรรมชาติ นำไปตกตะกอนเพื่อให้ได้ผงสี ศึกษา วิเคราะห์ความสัมพันธ์ ของสีที่ได้จากธรรมชาติและกระบวนการสร้างสรรค์งานจิตรกรรมไทยโบราณ เปรียบเทียบเฉดสีจากธรรมชาติและสีไทยเพื่อ นำมาใช้สำหรับสร้างงานจิตรกรรมไทยโบราณ
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1215
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.