Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1205
Title: Strengthening of morality and Thainess of the youth in the digital age.
การเสริมสร้างคุณธรรมและความเป็นไทยของเยาวชนในยุคดิจิทัล
การศึกษาลวดลายและการออกแบบเครื่องประดับจากผ้าทอไททรงดำ
Authors: Panpipat, Pimprapa
Yuenyaw, Pitchayapa
พิมประภา พันธุ์พิพัฒน์
พิชญาภา ยืนยาว
เก่งกาจ ต้นทองคำ
ชญาณี บุญวงษ์
Keywords: morality
Thainess
digital age
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: เกตุมณี แซงบุญเรือง (2557) . การบริหารทรัพยากรทางการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดเทศบาลเมืองนครพนม. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยนครพนม
คมพล สุวรรณกูฏ. (2556). “รายงานการวิจัยและพัฒนารูปแบบการพัฒนาครูและผู้บริหารสภานศึกษาแบบใช้โรงเรียน เป็นฐานในโรงเรียนขนาดเล็ก ระยะที่ ๒ จังหวัดตราด” ฐานข้อมูลงานวิจัยทางการศึกษา. สืบค้นเมื่อ 12 ธันวาคม 2562 จาก http://www.thaiedresearch.org/index.php/home/paperview/47/?topicid=5
ประสิทธิ์ สุวรรณรักษ์. (2555). ระเบียบวิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 10. บุรีรัมย์ : กลุ่มวิชา ทดสอบและวิจัยการศึกษา คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
พิกุล ถนอมขวัญ. (2557). สภาพและปัญหาการบริหารงานทรัพยากรทางการศึกษาของสถานศึกษา สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ.
สุริยาพร ดวงจักร ณ อยุธยา (2558). การบริหารทรัพยากรทางการศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน อำเภอปากช่อง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4. การค้นคว้าอิสระ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยนครราชสีมา.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32. (2561). แผนการจัดการบริหารโรงเรียนขนาดเล็ก สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32. บุรีรัมย์ : สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32.
หวน พินธุพันธ์. (2560). “การบริหารทรัพยากรทางการศึกษา”.สารานุกรมศึกษาศาสตร์. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. ฉบับที่ 52/2560.
วิรุณ ตั้งเจริญ. ( 2539). การออกแบบ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
ประเสริฐ พิชยะสุนทร. (2555). ศิลปะและการออกแบบเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รงคกร อนันตศานต์. (2551). ยุคสมัยของเครื่องประดับ. เชียงใหม่: Publishing.
วัฒนะ จูฑะวิภาค. (2545). การออกแบบเครื่องประดับ. กรุงเทพฯ: บริษัทธนาเพรส แอนด์ กราฟฟิค จำกัด.
อ้อยทิพย์ พลศรี. (2545). การออกแบบลวดลาย. กรุงเทพฯ: โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์.
วรรณรัตน์ อินทร์อ่ำ. (2536). ศิลปะเครื่องประดับ. กรุงเทพฯ: โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์.
เรนู เหมือนจันทร์เชย. (2542). ความเชื่อเรื่องผีของไทยโซ่ง. กรุงเทพฯ: บริษัท สหธรรมิก จำกัด.
นุกูล ชมภูนิช. (2532). ประเพณีชาวไทยโซ่ง. นครปฐม: เพชรเกษมการพิมพ์ น.ฐ..
วีระ อินพันทัง และดวงเงิน ซื่อภักดี. (2555). ศรัทธาวิวัฒน์: การปรับตัวเชิงนิเวศวิทยาวัฒธรรม กลุ่มชาติพันธุ์ไทดำ. กรุงเทพฯ: อุษาคเนย์.
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หหัว. (2542). เครื่องประดับ. เข้าถึงได้จาก: http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=34&chap=4&page=t34-4-infodetail07.html. (วันที่สืบค้น: 9 เมษายน 2563)
สุนิสา จงย่อกลาง. (2555). องค์ประกอบในการออกแบบเครื่องประดับ. เข้าถึงได้จาก: http://blackevil 408.blogspot.com/p/blog-page_6677.html. (วันที่สืบค้น 9 เมษายน 2563)
บงกช เวบ้านแพ้ว และคณะ. (2554). การออกแบบเครื่องประดับ. เข้าถึงได้จาก: https://preciouspieces. wordpress.com/. (วันที่สืบค้น 11 เมษายน 2563)
โอเรียนเต็ล จิวเวลรี่ แอนด์ โกลด์. เครื่องประดับลงยา. เข้าถึงได้จาก: http://www.ojgold.co.th/. (วันที่สืบค้น 11 เมษายน 2563)
เครื่องประดับไทย ในประวัติศาสตร์ไทย. เข้าถึงได้จาก: https://lumkha.com/. (วันที่สืบค้น 2 พฤษภาคม 2563)
วิวัฒนาการของเครื่องประดับ. เข้าถึงได้จาก: https://preciouspieces.wordpress.com/. (วันที่สืบค้น 2 พฤษภาคม 2563) 3654
Abstract: From the changing social conditions to the digital age. Society has changed dramatically. The imitation of foreign culture until forgetting the root of the Thai identity and lack of morality in living and living together in society. Because in the digital age. Youth can access various media quickly. Which various media there are both advantages and disadvantages in itself. We, as users of technology in the digital age must have media literacy. Can choose to use media that is beneficial to oneself and the public. Have morality and being Thai in living. Educational management is therefore very important. That helps children bury the youth in the nation to have morality Is Thai and use technology efficiently. By having media literacy skills ,have the ability to analyze media , media valuation and create media. Morality and Thainess are abstract. That can be created for a long time and requires cooperation from many agencies. Beginning at home, school, temple, community and society around youth. Help to instill awareness and refine the mind. Including promoting activities that promote morality and Thainess very well, and if carried out continuously, the youth. Will enable young people to live digital life with the potential to be aware of rapidly changing events.
จากสภาพสังคมที่กำลังเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคดิจิทัล สังคมมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว เกิดการลอกเลียนแบบ วัฒนธรรมต่างชาติจนลืมรากเหง้าของความเป็นไทย ขาดคุณธรรมในการดำเนินชีวิตและการอยู่ร่วมกันในสังคม เพราะในยุค ดิจิทัลเยาวชนสามารถเข้าถึงสื่อต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งสื่อต่างๆ มีทั้งข้อดีและข้อเสียอยู่ในตัวเอง เราในฐานะผู้ใช้เทคโนโลยี ในยุคดิจิทัลต้องมีความรู้เท่าทันสื่อต่างๆ สามารถเลือกใช้สื่อที่เกิดประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม มีคุณธรรมและความเป็น ไทยในการดำเนินชีวิต การจัดการศึกษามีความสำคัญอย่างมาก ที่ช่วยลูกฝังให้เยาวชนในชาติให้มีคุณธรรม มีความเป็นไทย และใช้เทคโนโลยี ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยต้องมีทักษะรู้เท่าทันสื่อ มีความสามารถในการวิเคราะห์สื่อ ประเมินค่าสื่อ และสร้างสรรค์สื่อด้วย คุณธรรมและความเป็นไทยเป็นนามธรรมที่กว่าจะสร้างให้เกิดได้ต้องเวลานานและต้องได้รับความร่วมมือจากหลายหน่วยงาน โดยเริ่มตั้งแต่ที่บ้าน โรงเรียน วัด ชุมชนและสังคมที่อยู่รอบตัวของยาวชนช่วยปลูกฝัง ปลูกจิตสำนึก ขัดเกลาจิตใจ รวมถึง ส่งเสริมการทำกิจกรรมที่สร้างเสริมคุณธรรมและความเป็นไทยได้อย่างดียิ่งและหากดำเนินการอย่างต่อเนื่องย่อมทำให้เยาวชน สามารถดำเนินชีวิตในยุคดิจิทัลอย่างมีศักยภาพรู้เท่าทันเหตุการณ์ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์ของงานวิจัย (1) ศึกษาลวดลายบนผืนผ้าของไททรงดำ (2) เพื่อสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์เครื่องประดับจากลวดลายผ้าทอไททรงดำ การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาลวดลายบนผืนผ้าของไททรงดำ รวมถึงสีที่กลุ่มไททรงดำใช้ย้อมผ้า เพื่อนำ มา สร้างสรรค์เป็นเครื่องประดับ โดยยึดหลักของการนำความเข้าใจในบริบทต่าง ๆ ทั้งประวัติความเป็นมาสภาพแวดล้อมทาง สังคม ประเพณี วัฒนธรรมความเป็นอยู่ต่าง ๆ จากนั้นนำข้อมูลที่ได้จากการศึกษามาเป็นฐานความรู้เชื่อมโยงสู่กระบวนการใน การสร้างผลงาน ผลการวิจัยพบว่ามีลายเดิมที่ปรากฏบนผืนผ้าทั้งหมด 34 ลาย ซึ่งประกอบไปด้วย ลายพันธุ์พฤกษาจำนวน 12 ลาย เช่น ลายงา ลายดอกพิกุล ลายดอกแก้ว และลายดอกมะลิ เป็นต้น ลายสัตว์จำนวน 15 ลาย เช่น ลายช้าง ลายสิงโต ลายปลา และลายแมงป่อง เป็นต้น ลายเครื่องมือเครื่องใช้จำนวน 1 ลาย ได้แก่ ลายข้าวหลามตัด ลายสถานที่และสิ่งของจำนวน 4 ลาย ได้แก่ ลายธรรมาสน์ ลายโบสถ์ ลายใบเสมา และลายหอปราสาท และลายเบ็ดเตล็ดจำนวน 2 ลาย ได้แก่ ลายดาวลอย และ ลายสายรุ้ง และสีที่ใช้ย้อมผ้านั้นมีทั้งหมด 7 สี ซึ่งประกอบไปด้วย สีดำ สีแดงเลือดหมู สีขาว สีส้ม สีเขียว สีเหลือง และสีคราม และในปัจจุบันมีชาวไททรงดำได้เพิ่มสีม่วง สีฟ้า สีชมพู มาอีกเพราะจะได้เข้ากับยุคสมัย และลวดลายใหม่ ๆ เกิดขึ้นมากมาย โดยการนำเอาลายที่มีอยู่เดิมมาผสมประดิษฐ์ สร้างสรรค์เกิดเป็นลวดลายใหม่ขึ้นมา ซึ่งลายที่เกิดใหม่นั้นขึ้นอยู่กับผู้ที่ออกแบบ แต่ละบุคคล
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1205
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.