Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1198
Title: The Study of Automatically Separation of Water Packaging: Glass Bottles, Plastic Bottles and Cans
การศึกษาการแยกขยะบรรจุภัณฑ์น้ำดื่ม: ขวดแก้ว ขวดพลาสติก และกระป๋อง โดยอัตโนมัติ
Authors: Nuiplot, Nalin-on
Outama, Amata
นลินอร นุ้ยปลอด
อมตา อุตมะ
Keywords: waste separation
packaging waste
automatic waste separation
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: เพชรรัตน์ มีศิล, วิทยานันท์ ดีสม, พรณิชา หุนติราช, ธีมา ไกรสอน และเยาวลักษณ์ เกงรัมย์. (2557). ลักษณะของขวด พลาสติก. ค้นเมื่อ 23 กุมภาพันธ์ 2563 จาก https://woraganda1996.wordpress.com/
ดวงฤทัย ธำรงโชติ. (2550). เทคโนโลยีภาชนะบรรจุ. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์ และนิธิยา รัตนาปนนท์ (2553). เครื่องปิดฝากระป๋อง. ค้นเมื่อ 1 เมษายน 2563 จาก https://sites.google.com/site/foodtechnologycanned/canned/prapheth-khxng-krapxng
สมพงษ์ เฟื่องอารมณ์. (2550). บรรจุภัณฑ์กับการส่งออก. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: จามจุรีโปรดักท์.
เทียนทิพย์ เดียวกี่ สำ นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (2562). ค้นเมื่อ 1 เมษายน 2563, จาก https://www.thaihealth.or.th/Content/49435-
องค์การบริหารส่วนตำ บลคลองชีล้อม (2563). ประเภทและสีของถังขยะ. ค้นเมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2563 จาก https://www.klongchelom.go.th/datacenter/doc_download/20170720154726_11.pdf
JOTOP GLASS (2553). ลักษณะของขวดแก้ว. ค้นเมื่อ 28 กุมภาพันธ์ 2563 จาก http://th.jotopvials.com/news/thecharacteristics- of-glass-bottles-14084781.html 3480
Abstract: At the present, even in Thailand, there is a campaign to separate the trash to make it easier to manage waste, but it still has no separation conveniently and clearly. Especially the packaging of beverage in glass bottles, plastic bottles and cans, the packaging are often modified and processed for using later (recycle) and are often used frequently due to being durable. However, as a result of this durability, long time degradation will occur and will cause various pollution which affect the world-class environment. The problem of waste mentioned before is caused by the majority of consumers who do not have a complete understanding of different types of waste separation and also need the speed of waste disposal in today's fast-paced life. Therefore, we have studied the separation of packaging waste of various types of water bottles which are glass, plastic and cans automatically by throwing the trash into only one way. The principle of separation is using the weight and size of the package and also the principle of ramps including the hinges as another mechanism. The results of this study are able to separate all 3 types of packaging accurately, conveniently and quickly.
ปัจจุบัน แม้ในประเทศไทยมีการรณรงค์ให้ทิ้งขยะแยกถังเพื่อให้ง่ายต่อการจัดการขยะ แต่ก็ยังไม่มีการแยกได้อย่าง สะดวกและชัดเจน โดยเฉพาะบรรจุภัณฑ์ของเครื่องดื่มบรรจุขวดแก้ว ขวดพลาสติก และกระป๋อง ซึ่งเป็นบรรจุภัณฑ์ที่มักนำมา เปลี่ยนแปลงรูปแบบและนำไปแปรรูปเพื่อใช้งาน (รีไซเคิล: recycle) และมักพบการใช้งานบ่อย เนื่องจากมีความคงทนในการ ใช้งาน แต่จากความคงทนนี้เองส่งผลถึงการย่อยสลายอันใช้ระยะเวลานาน หากทิ้งเกลื่อนกลาดหรือการมีแยกขยะไม่ถูกต้อง สมบูรณ์ ก็จะทำให้เกิดมลภาวะต่าง ๆ ตามมา และส่งผลกระทบถึงสิ่งแวดล้อมในระดับโลกต่อไป ปัญหาเรื่องขยะดังกล่าว ข้างต้น เกิดจากผู้บริโภคโดยส่วนใหญ่มักไม่มีความเข้าใจเกี่ยวกับการแยกขยะชนิดต่าง ๆ อย่างถ่องแท้ อีกทั้งยังต้องการความ รวดเร็วในการทิ้งขยะเพื่อการดำรงชีวิตในปัจจุบันอันรีบเร่ง คณะผู้จัดทำเล็งเห็นปัญหาดังกล่าว จึงได้ศึกษาการแยกขยะบรรจุ ภัณฑ์ของขวดน้ำชนิดต่าง ๆ คือ แก้ว พลาสติก และกระป๋อง โดยอัตโนมัติ จากการทิ้งขยะลงในถังขยะเพียงช่องทางเดียว ซึ่งมี หลักการโดยใช้น้ำหนักและขนาดของบรรจุภัณฑ์เป็นเกณฑ์ในการคัดแยก และยังใช้หลักการของทางลาด รวมถึงบานพับเป็น กลไกอีกทางหนึ่ง ผลที่ได้รับจากการศึกษาในครั้งนี้ คือ สามารถแยกบรรจุภัณฑ์ทั้ง 3 ชนิดได้อย่างแม่นยำ สะดวก และรวดเร็ว โดยมีค่าเฉลี่ย และร้อยละความสำเร็จโดยรวมของชิ้นงานในการคัดแยกบรรจุภัณฑ์ เท่ากับ 95.67
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1198
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.