Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1190
Title: Analysis of Epidemiology Test for Bachelor of Public Health Program in Community Public Health and Dental Public Health
การวิเคราะห์ข้อสอบรายวิชาวิทยาการระบาด หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน และสาขาทันตสาธารณสุข
Authors: Phianrungrueang, Aurapin
Mahachaipongkul, Ratchanee
อรพินธุ์ เพียรรุ่งเรือง
รัชนี มหาชัยพงศ์กุล
Keywords: Test
quality of test
Epidemiology
Community Public Health Program
dental health Public Health program
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กาญจนา แย้มเสาธง (2556) การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. วารสารวิชาการศิลปะสถาปัตยกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ตุลาคม 2555 – มีนาคม 2556
เชิดศักดิ์ ไอรมณีรัตน์. (2552) การวิเคราะห์ข้อสอบปรนัย. เวชบันทึกศิริราช ปีที่ 2, ฉบับที่ 1.
วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดพิษณุโลก. (2559) หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา สาธารณสุขชุมชน 2559.
วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดพิษณุโลก.(2560) หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ทันตสาธารณสุข ฉบับปรับปรุง 2560
ประสพชัย พสุนนท์. (2557) ความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม ในการวิจัยเชิงปริมาณวารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ ปีที่ 27 ฉบับที่ 1
ปราณี มีหาญพงษ์ และกรรณิการ์ ฉัตดอกไม้ไพร (2561). การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวิจัย ทางการพยาบาลวารสารพยาบาลทหารบก ฉบับที่ 19 ฉบับที่ 1
สิรินธร สินจินดาวงศ์. (2547) วิธีการวิเคราะห์ข้อสอบ. วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 1
สันติ งามเสริฐ (2560) การสร้างข้อสอบวัดผล สัมฤทธิ์ทางการเรียน. วารสารวิชาการโรงเรียนนายเรือ ด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศึกษาศาสตร ปีที่ 4 ฉบับทุ่ 1 มกราคม-ธันวาคม 2560
อานนท์ ศักดิ์วรวิชญ์. (2560) การสอนสถิติแบบผิดๆ ว่าด้วย z-test และ t-test เมื่อ ก>30 หรือ ก<30 สำหรับการทดสอบ ค่ำเฉลี่ยในวงวิชาการไทย (และต่างประเทศ). เข้าถึงเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พุทธศักราช 2560. https://businessanalyticsnida.wordpress.com/2017/07/27/wrong-t-test-z-test
S. L. ZABELL. (2008) On Student's 1908 Article "The Probable Error of a Mean". Journal of the American Statistical Association, March 2008
Abstract: The objective of this research is to find the quality of the epidemiology test and compare exam scores in the Bachelor of Public Health Program between 42 students of Community Public Health Program and 49 Dental Public Health Program. The populations were 91 in the academic year 2562. Data were collected by using 80 items of Mid-term test and 60 items of final test. The Data were analyzed by using difficulty/easiness index, point-biserial correlation, internal consistency reliability, internal consistency reliability, mean, standard deviation and independent t-test. The results showed that Exam quality analysis on the difficulty / easy index of the test classification power Midterm exam and Final exam of the Community Health and Dental Public Health programs in the same direction. Internal consistency reliability and Kuder-Richardson Reliability (KR-20) corresponds only to final exams. Test scores in both theory and practice of students in the Community Health Program Have a higher average than students in the dental public health program. The average practice scores for the Community Public Health program students different from the average practice scores for dental health Public Health program students Significant at .05
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เเพื่อหาคุณภาพของข้อสอบ และเปรียบเทียบคะแนนสอบรายวิชาวิทยาการ ระบาด ระหว่างนักศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน และสาขาทันตสาธารณสุข กลุ่มประชากรเป็นนักศึกษาของหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุข และสาขาทันตสาธารณสุข จำนวน 91 คน ปีการศึกษา 2562 ได้ทำโดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ข้อสอบกลางภาค 80 ข้อ ข้อสอบ ปลายภาค 60 ข้อ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าดัชนีความยาก/ง่ายของข้อสอบ ค่าอำนาจจำแนก (point-biserial correlation) ความเที่ยงตรงของคะแนนสอบ ความคงที่ภายใน (KR-20) ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การ ทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า การวิเคราะห์คุณภาพข้อสอบในด้านค่าดัชนีความยาก/ง่ายของข้อสอบ ค่าอำนาจ จำแนก ข้อสอบกลางภาคและข้อสอบปลายภาค ของสาขาวิชาสาธารณสุขชุมชนและสาขาทันตสาธารณสุข สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน แต่ความเที่ยงตรงของคะแนนสอบ (internal consistency reliability) และค่า ความคงที่ภายใน Kuder-Richardson Reliability Kuder-Richardson (KR-20) สอดคล้องกันเฉพาะข้อสอบ ปลายภาค คะแนนสอบทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติของนักศึกษาสาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน มีค่าเฉลี่ยสูงกว่า นักศึกษาสาขาทันตสาธารณสุข คะแนนสอบเฉลี่ยภาคปฏิบัติของสาขาวิชา สาธารณสุขชุมชน แตกต่างกับคะแนน สอบเฉลี่ยนักศึกษาสาขาทันตสาธารณสุข อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1190
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.