Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1184
Title: | A Study Student’s Opinion Toward Learning Management Process In Recreational Learning Through Backpack Traveling Subject การศึกษาความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาการเรียนรู้เชิงนันทนาการโดยการเดินทางในต่างประเทศแบบประหยัด |
Authors: | Suthitakon, Nopparat นพรัตน์ ศุทธิถกล |
Keywords: | Student opinions Learning management process Recreational learning Through Backpack Traveling |
Issue Date: | 9-Jul-2020 |
Publisher: | Nakhon Pathom Rajabhat University |
Citation: | ชุติมา ชัยมุสิก. (2550). ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาสังคมไทยที่มีผลกระทบต่อการเกิดปัญหาอาชญากรรม. เอกสารศึกษา
รายบุคคลสถาบันพัฒนาข้าราชการตำรวจ หลักสูตรผู้กำกับการรุ่นที่ 57. กรุงเทพฯ: สำนักงานตำรวจแห่งชาติ. ดวงเดือน ศาสตรภัทร. (2547). สารานุกรมศึกษาศาสตร์. อันดับที่ 5: 106 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ, กรุงเทพฯ. ทิศนา แขมมณี และคณะ. (2545). กระบวนการเรียนรู้ความหมายแนวทางพัฒนาและปัญหาข้อข้องใจ. กรุงเทพฯ: พัฒนาคุณภาพวิชาการ. ทรงธรรม ธีระกุล, เสาวนีย์ แสงสีดำ, วันวิสาข์ แก้วสมบูรณ์, วารุณี ทิพโอสถ และศศิธร ดีใหญ่. (2558). ความคิดเห็น เกี่ยวกับการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของบัณฑิตมหาวิทยาลัยทักษิณ. ค้นเมื่อ 21 มีนาคม 2563 จาก http://grad.tsu.ac.th/main/files_sec/2101201930306%93pdf บุญชม ศรีสะอาด. (2538). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น. สำนักการอุดมศึกษา. (2552). กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 และแนวทางการปฏิบัติ. ค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2563 จาก http://graduateschool.bu.ac.th/tqf/images/pdf/tqf_th.pdf สำเริง บุญเรืองรัตน์. (2531). ทฤษฎีการวัดและการประเมินผลการศึกษา (ฉบับปรับปรุง). สำนักทดสอบทางการศึกษา และจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร: กรุงเทพฯ. Alluhaidan, A., and Abu-Taieh, E.M. (2020). Student learning outcomes (SLOs) and assessment of cyber security body of knowledge (BOK): Evaluation & challenges. International Education Studies. 13(5), 13-23. Retrieved 2 March 2020 from https://www.academia.edu/42377997/ Ramlee M., Seri B., Saemah R.M. Yusof H., Rahayu A.B. (2014). Environmental factors and students’ learning approaches: A survey on Malaysian polytechnics students. Journal of Education and Learning. 8(4), 387-398. Retrieved 2 March 2020 from https://www.researchgate.net/publication/287545366 Sangeeta, K., PanduRanga Vital T., Kumar, K.K. (2020). Student classification based on cognitive abilities and predicting learning performances using machine learning models. International Journal of Recent Technology and Engineering. 8(6), 3554-3569. Retrieved 2 March 2020 from https://www.academia.edu/42383914/ |
Abstract: | The research objectives were to study the student’s opinion toward learning management process in
recreational learning through backpack traveling subject and for give ssuggestions for learning
management in the future. The methodology was survey research. The researcher created a
questionnaire, and used to collected data. The questionnaire was examined by cronbach's alpha
coefficient method and the reliability is equal to 0.97. The samples were 134 students, selected by the
purposive sampling method. They enrolled in courses opened in the academic year 2018. Data were
analyzed by frequency, average, standard deviation, T-test, F-test. The study found that the samplegroup is female 70.10%, male 29.90%. There were the students from 12 faculty enrolling in this course,
76.90% of students had traveled abroad already. There were the largest numbers of students in the
Faculty of Veterinary Technology. The results of the opinion, in general, were at the highest level and
except 1 item was at the high level. The comparison of opinions based on gender variables, year of
study, faculty affiliated showed that there were statistically significant differences at the .05 level in
some item. The student suggested that: they should to have textbooks for learning, should organize
travel trips within the country to save costs, and they would like to have more time to travel, should to
have teaching materials in advance, should to have many forms of teaching materials, should to have
activities that allow students from different faculties to be able to get together faster, and should to
improve internet system in the classroom. การวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเรียนรู้ เชิงนันทนาการโดยการเดินทางในต่างประเทศแบบประหยัด และเพื่อเสนอแนะแนวทางในการจัดการเรียนรู้ในภาคเรียนต่อไป ใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าความเชื่อมั่น 0.97 กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตที่ ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาที่เปิดสอนในปีการศึกษา 2561 จำนวน 134 คน ใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลโดย การหาค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้สถิติ T-test และ F-test ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศหญิง ร้อยละ 70.10 เป็นเพศชายร้อยละ 29.90 มีนิสิต 12 คณะมาลงทะเบียนเรียนวิชานี้ มีนิสิตคณะเทคนิคสัตวแพทย์จำนวนมาก ที่สุด และพบว่ามีนิสิต ร้อยละ 76.90 เคยเดินทางไปต่างประเทศมาแล้ว ผลการศึกษาความคิดเห็นในภาพรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด ยกเว้น “มี 1 รายการเท่านั้น”อยู่ในระดับมาก ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นตามตัวแปรเพศ ชั้นปีที่ศึกษา คณะ ที่สังกัด พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในบางรายการเท่านั้น มีข้อเสนอแนะการจัดการเรียน การสอน เรื่อง การจัดทำตำราเรียน ควรมีการจัดเดินทางไปทัศนศึกษาภายในประเทศเพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย ควรเพิ่มเวลาใน การเดินทาง ควรมีการแจกเอกสารการสอนล่วงหน้า ควรมีสื่อการสอนหลายรูปแบบ ควรมีกิจกรรมที่ทำให้นิสิตต่างคณะ สามารถสนิทกันได้เร็วขึ้น และควรปรับปรุงสัญญาณอินเตอร์เน็ทที่ใช้ในห้องเรียน |
URI: | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1184 |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
การศึกษาความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้.pdf | 254.54 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.