Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1183
Title: | Reducing Non-Performing Loans (NPL) of overdraft loans in the natural person category Of the Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives head office. การลดหนี้ด้อยคุณภาพ (NPL) ของสินเชื่อเบิกเงินเกินบัญชี (OD) ประเภทบุคคลธรรมดา ของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สำนักงานใหญ่ |
Authors: | Wirunthanaklit, Goonkanit กุลขนิษฐ์ วิรุฬห์ธนกฤษณ์ |
Keywords: | Non-performing Loan Overdraft The natural person category |
Issue Date: | 9-Jul-2020 |
Publisher: | Nakhon Pathom Rajabhat University |
Citation: | ชนินทร์ พิทยาวิวิธ. 2534. “ตลาดการเงินในประเทศไทย.” พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้ง กรุ๊ฟ. อ้างถึงใน
ศิขริน ศิริอ่อน. 2554. “ปัจจัยที่ทำให้เกิดการค้างชำระหนี้เงินกู้เพื่อที่อยู่อาศัยของลูกค้าธนาคารกรุงไทย จำกัด
(มหาชน) สาขา รามอินทรา กม.10 กรุงเทพมหานคร.” วิทยานิพนธ์ปริญญาเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชา
เศรษฐศาสตร์การพัฒนามนุษย์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน์. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร. (2561). รายงานกิจการประจำปี 2561. เงินรับฝาก, 61, 88-89 ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร. ( 2561). สำ นักพัฒนาระบบคุณภาพและกระบวนการ. ธัญกมล กี้ประเสริฐทรัพย์. (2560). ผลกระทบจากการดำเนินนโยบายกึ่งการคลังต่อหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPLs) ของ สถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. |
Abstract: | The purpose of this research is to study the causes and reduce the problem of Non-Performing
Loan (NPL) of overdraft loan (OD) in the natural person category of individual of the bank for Agriculture
and Agricultural Cooperatives Head office. The samples used in the study were 30 administrators and
credit analysis staff, divided into 10 executives and 20 credit analysis staff. Selected by Purposive
sampling Tools used in the study were structured interview forms then analyzed using a fishbone
diagram for primary and secondary causes of problems. Then take the cause classified by 7’s McKinsey's
Theory and use the guidelines for reducing the problems from the executive interviews and credits
analysis staff to classify and create inductive conclusions In order to get the alternative guidelines
proposed with a reason. The findings of this study were as follows: The causes of non-performing loans
(NPL) of overdraft loans (OD) in the category of individual can be summarized as follows 1) The bank
sets key performance indicator (KPI) for branch loans nationwide. Causing employees to focus on credit
payments regardless of customer quality. 2) The customers misuse the loans. 3) The credit officers do
not match the type of business. 4) The credit officers do not monitor or control the loans using after
approvals. 5) The bank does not have tools or systems to alert loan repayment. 6) Economic conditions
do not match the customer expecting. Guidelines for reducing non-performing loan (NPL) of overdraft
loan (OD) in the natural person category of individual of the bank for Agriculture and Agricultural
Cooperatives Head office is providing training on knowledge of overdraft payment (OD) for credit analysis
staff. Match the needs of customer using credit and develop credit analysis skills to be more effective. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสาเหตุและแนวทางในการลดปัญหาการเกิดหนี้ด้อยคุณภาพ (NPL) ของ สินเชื่อเบิกเงินเกินบัญชี (OD) ประเภทบุคคลธรรมดา ของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สำนักงานใหญ่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้บริหารและพนักงานวิเคราะห์งานสินเชื่อ จำนวน 30 คน แบ่งออกเป็นผู้บริหารจำนวน 10 คน และพนักงานวิเคราะห์งานสินเชื่อจำนวน 20 คน คัดเลือกโดยการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง โดยผู้วิจัยใช้แผนผังก้างปลา (Fishbone Diagram) ใน การวิเคราะห์หาสาเหตุหลักและสาเหตุรองในการเกิดปัญหา จากนั้นนำสาเหตุหลักและสาเหตุรองที่ได้มาจำแนกตามทฤษฏี 7’s Model ของ McKinsey และนำแนวทางในการลดปัญหาที่ได้จากการสัมภาษณ์ผู้บริหารและพนักงานวิเคราะห์สินเชื่อ มาจำแนกและสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย (Induction Analysis) เพื่อให้ได้แนวทางเลือกที่เสนอพร้อมเหตุผล ผลการศึกษาพบว่า สาเหตุของการเกิดหนี้ด้อยคุณภาพ (NPL) ของสินเชื่อเบิกเงินเกินบัญชี (OD) ประเภทบุคคลธรรมดา สรุปได้ 6 ข้อ ดังนี้ 1) ธนาคารกำหนดเป้าหมายการจ่ายสินเชื่อ (Key Performance Indicator: KPI) ให้กับสาขาทั่วประเทศ ทำให้พนักงาน มุ่งเน้นการจ่ายสินเชื่อโดยไม่คำนึงถึงคุณภาพของลูกค้า 2) ลูกค้านำเงินกู้ไปใช้ผิดวัตถุประสงค์ 3) พนักงานให้สินเชื่อไม่ตรง กับประเภทของธุรกิจ 4) พนักงานไม่มีการตรวจสอบหรือควบคุมการใช้เงินกู้หลังการให้สินเชื่อ 5) ธนาคารไม่มีเครื่องมือ หรือระบบในการแจ้งเตือนการค้างชำระหนี้เงินกู้ (Warning System) ของลูกค้า 6) สภาพเศรษฐกิจไม่เป็นไปตามที่ลูกค้า คาดคิด ส่วนแนวทางในการลดปัญหาการเกิดหนี้ด้อยคุณภาพ (NPL) ของสินเชื่อเบิกเงินเกินบัญชี (OD) ประเภทบุคคล ธรรมดา ของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สำนักงานใหญ่ คือ การจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจ่ายสินเชื่อ ประเภทเบิกเงินเกินบัญชี (OD) ให้กับพนักงานวิเคราะห์สินเชื่อ เพื่อให้พนักงานใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์สินเชื่อได้ตรง กับประเภทธุรกิจ ตรงกับความต้องการใช้สินเชื่อของลูกค้า และพัฒนาทักษะในการวิเคราะห์สินเชื่อของพนักงานให้ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น |
URI: | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1183 |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
การลดหนี้ด้อยคุณภาพ (NPL) ของสินเชื่อเบิกเงินเกินบัญชี (OD) ประเภทบุคคลธรรมดา.pdf | 182.14 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.