Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1162
Title: Prevalence rate and helmet wearing behavior among undergraduate students, University of Phayao
อัตราความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัย ของนิสิตมหาวิทยาลัยพะเยา
Authors: Srisookkum, Taweewun
Takaew, Tienthong
Katkhaw, Orathai 1
Thaitawad, Kittiya
Pholvicha, Peeranut
Tangnithipong, Sunanta
Chairinkam, Surangkana
ทวีวรรณ ศรีสุขคำ
เทียนทอง ต๊ะแก้ว
อรทัย เกตุขาว
กิตติยา ไทยธวัช
พีรณัฐ ผลวิชา
สุนันทา ตั้งนิติพงศ์
สุรางคนา ไชยรินคำ
Keywords: prevalence rate of helmet wearing
helmet wearing behavior
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กมลชนก เศรษฐบุตร. พฤติกรรมเชิงลึกของนิสิตมหาวิทยาลัยในการสวมหมวกนิภัย. วารสารมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2562 : 27(4), 194-217.
กมลวรรณ คุ้มวงษ์, นิสากร กรุงไกรเพชร, สุวรรณา จันทร์ประเสริฐ: ปัจจัยทำนายพฤติกรรมในการขับขี่จักรยายนต์ของ นักเรียนชั้นมัธมศึกษาตอนปลายภาคตะวันออก. วารสารคณะพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา, 2562: 27(4), 42-52. กลุ่มข้อมูลและข่าวสารด้านสุขภาพ. (2562). สถิติสาธารณสุข 2561. นนทบุรี: กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กระทรวง
จรรยา ประกอบศิริ, อาภาพร กฤษณ์พันธ์และสุรัชนา ข้าอำเภอบางใหญ่งชายวงศ์. ความชุกในการสวมหมวกนิรภัยของผู้ขับ ขี่จักรยานยนต์อำเภอบางใหญ่ จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 2560: 26(2), 209-206.
เจ๊ะแว ซารีฟะห์. (2560). ปัจจัคัดสรรตามแบบแผนความเชื่อต้านสุขภาพที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้หมวกนิรภัย ในการ ป้องกันอุบัติเหตุของนักศึกษาสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตยะลา. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
สาธารณสุข.กมลชนก เศรษฐบุตร. พฤติกรรมเชิงลึกของนิสิตมหาวิทยาลัยในการสวมหมวกนิภัย. วารสารมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2562 : 27(4), 194-217.
ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล และสุพัตรา ฉัตราภรณ์. (2555). กรออกแบบการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
บุปผา ลาภทวี(2555). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยของผู้บาดเจ็บจากการขับขี่ รถจักรยานยนต์ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ. กรุงเทพ: โครงกรวิจัยเพื่อพัฒนางานโรงพยาบาล ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ. ตรีเนตร สาระพงษ์ สุกัญานี่ กิ่งแก้วและศราวุฒิ แสงคำ. การสวมหมวกนิรภัยในการขับขี่รถจักรยานยนต์ของ นักศึกษา มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา พฤติกรรมและกฎหมาย, 2559: 3(1), 1-13.
ศิวาภรณ์ ศรีสกุล. (2558). ผลของการสร้างแรงจูงใจเพื่อการปกป้องสุขภาพต่อพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัยของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิซาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน มหาวิทยาลัยบูรพา.
สำนักระบาตวิทยา.(2560). สรุปรายงานการฝ้าระวังประจำปี้ 2559. กรุงเทพมหานคร: โรงมพ์ซุมนุมสหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทย.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพะเยา.(2561). ผลการดำเนินงานฝ้าระวังป้องกันและลอุบัติเหตุจราจรทางถนน จังหวัด พะเยา ประจำเดือนมีนาคม 2562. [24 กรกฎ าคม 2561] สืบค้นเมื่อ 11 มกราคม 2563. จาก http://www.pyomoph.co.th/backoffice/files/3192.pdf
Bachani, AM., Tran, NT., Sann, S., Ballesteros, MF., Cnim, C., Ou, A., Sem, P., Nei, X., & Hyder, A. Helmet Use Among Motorcyclists in Cambodia: A Survey of Use, Knowledge, Attitudes, and Practices. Traffic Injury Prevention, 2012: 13(S1):31-36.
Best J.W. (1977). Research in education. New Jersey: Prentical-Hall Inc. Chow, R., Borean, M., Hollenberg, D., Viehweger, J, Anpalagan, T. & Rzepka, A. Bicycle and helmet use of adolescents: A meta analysis. In J Child Health Hum Dev, 2019: 12(1), 11-18.
Fletcher, C., McDowell, D. Thompson, C., & James, K. Helmet use among motorcycle accident victims in the north-east region of Jamaica. International Journal of Injury Control and Safety Promotion. 2019: 26(4), 399-404.
Khan I, Khan A, Aziz F, Islam M, Shafgat S. Factors associated with helmet use among motorcycle user in Karachi, Pakistan. ACAD EMERG MED, 2008: 15(4), 384-387.
Ouellet JV and Kasantikul V. (2006). Motorcycle Helmet Effect on a Per-Crash Basis in Thailand and the United States. Traffic Inj Prev: 7(1), 49-54.
Rimer B.K. (2008). Models of individual health behavior. In Glanz, K, Rimer, B.K, Wiswanath, K. (Eds.), Health behavior and health education: Theories , research and practice. San Francisco: John Wiley & Sons Inc.
Sambasivam, S., Aziz AA, Karuppiah,, Abidin, EZ., Tamrin, SBM., Naeini, HS., Mani, KKC., Perumal, PA, & Alias, AN. Prevalence of safety equipment and helmet use among school students commuting to school in South Selangor, Malaysia. SongklanaKarin J. sci. Technol, 2010: 42(3), 721-724.
Supanvanich, S & Podhipak, A. (1993). Epidemiology. Bangkok: Faculty of Public Health. World Health Organization. (2018). Global status report on road safety 2015. [2018 August 5]. ค้นเมื่อ 11 มกราคม 2563. จาก http://www.who.int/violence injury prevention/road safety status/2015/en
Abstract: The analytical research, cross-sectional design aimed to study prevalence rate and explore the associated factors of helmet wearing behavior among undergraduate students, University of Phayao. Sample were four hundred undergraduate students at a University of Phayao, selected by purposive sampling as inclusion criteria. Instruments was questionnaires which collected during February, 2020. Data were analyzed by descriptive statistics and inferential statistics Chi-square test, Phi(φ) coefficient and Spearman rank coefficient The research showed that prevalence rate of helmet wearing behavior was 93.0 %. The statistics revealed that 6 independent variables had influenced the helmet wearing behavior among samples. They are the following: (1) a positive strong variable ; enforcement of the helmet wearing ( r=0.750), (2) an intermediated positive variable; attitude on the helmet wearing( r=0.439); an intermediated variable helmet owner (p-value< 0.001, φ=0.429), (3) low positive variables; number of accidents(r=0.172) ; social support (r=0.133); low variables; license motorcycle p-value< 0.001, φ=0.203). The research should be taken set up measurement and activities for the area study and the similar as this study.
การวิจัยเชิงวิเคราะห์ภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตราความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรม การสวมหมวกนิรภัยของนิสิตในมหาวิทยาลัยพะเยา กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตระดับปริญญาตรีจำนวน 400 เลือกตัวอย่างแบบ เจาะจงซึ่งมีคุณสมบัติตามที่กำหนด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามโดยดำเนินการเก็บในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2563 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณา และลถิติอนุมานคือ การทดลอบไคว์สแคว์ ค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์ Phi(@) และสหลัมพันธ์อันดับของสเปียร์แมน ผลการวิจัยพบว่า อัตราความชุกของการสวมหมวกนิภัยร้อยละ 93.0 ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสวมหมวก นิรภัยอย่างมีนัสำคัญทางสถิติมีจำนวน 6 ตัวแปรได้แก่ 1 มาตรการบังคับการสวมหมวกนิรภัย ความสัมพันธ์ทางบวก ระดับสูง ( =0.750) 2) ทัศนคติต่อการสวมหมวกนิรภัย(=0.439) ความเป็นเจ้าของหมวกนิรภัย ( p-volue< 0.001, 40=0.429 มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง 3) จำนวนครั้งของการประสบอุบัติเหตุ แรงสนับสนุนทางสังคม (=0.172; =0.133) มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับ การมีใบขับขี่รถจักรยานยนต์ (p-value< 0.001, (p=0.203) มี ความสัมพันธ์ระดับต่ำ ผลการศึกษาสามารถนำไปใช้ในการกำหนดมาตรการและจัดกิจกรรมเพื่อป้องกันการบาดเจ็บและการ สูญเสียชีวิต ของนิสิตในพื้นที่ศึกษาและพื้นที่อื่นที่มีลักษณะทางประชากรคล้ายคลึงกัน
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1162
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.