Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1159
Title: The cause of domestic violence against women in the context of Thai society
เหตุแห่งการกระทำรุนแรงในครอบครัวต่อสตรีตามบริบทของสังคมไทย
Authors: Lueangvilai, Waraporn
Kanchanakunjara, Sirinrat
วราภรณ์ เหลืองวิไล
ศิรินทร์รัตน์ กาญจนกุญชร
Keywords: context of Thai society
violence against women
domestic violence
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กระทรวงสาธารณสุข. (2562). แนวทางกรจัดสรรวงประมาณรายจ่าย ประจำปี 2562. มนุษย์. [ออ นไล น์]. สืบคั้นเมื่อ วันที่ 25 มิถุนายน 2563 จาก https://phdb.moph.go. th/main/index/download/505
กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว. (2558. แผนฏิบัติการภูมิภาคอาเชียน ว่าด้วยการขจัดความรุนแรงต่อสตรี.กระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ธีรวุฒิ นิลเพ็ชร์ (2561). ความรุนแรงในครอบครัว: การวิเคราะห์สาเหตุและการป้องกันปัญหาในสังคมไทย. วารสารพฤติกรรม ศาสตร์, ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม 2561. สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรต
พูนสุข เวชวิฐาน. (2557). ทฤษฎีครอบครัวเบื้องตัน (An Introduction to Family Theories). กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
รณชัย คงสกนธ์. (2551). 100 (ร้อย) เรื่อง รัก...รุนแรง. หสน.สหประชาพาณิชย์.
รายงานข้อมูลและตัวชี้วัด ด้านความรุนแรงในผู้หญิงและเด็กหญิง (Gender-based on Violence Against Women and Girls : VAW/G Indicators)สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครั่ว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (โครงการภายใต้การสนับสนุนของ UNDP ประเทศไทย) พฤศจิกายน 2554
วิชุลตา มาตันบุญ. (2556). การพัฒนากลไกในระดับชุมชนเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการกระท ความรุนแรงต่อเด็ก และสตรีในพื้นที่ชายแตนภาคเหนือของประเทศไทย (เล่ม 1). พิมพ์ครั้งที่ 1. เชียงใหม่: พิมพ์ณภัทรการพิมพ์.
ศูนย์ปฏิบัติการเพื่อป้องกันการกระทำความรุนแรงในครอบครัว. (2563). รายงานสรุปจำนวนเหตุการณ์ความรุนแรงใน ครอบครัวประจำปี พ.ศ. 2525 - 2563. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (ออนไลน์]สืบค้น เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2563 จาก http://www.violence. in th/violence/report/violence/report001.aspx
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2561). สถิติ 'ความรุนแรงทางเพศ' ของไทยยังน่าห่วง. [อ อ น ไ ล น์] . สืบค้นเมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2563 จาก https//www.thaihealth.or.th/Content/45786-7.html
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2558). การใช้ความรุนแรงในครอบครัว : กฎหมายช่วยได้. Academic Focus. ฉบับ กุมภาพันธ์ 2558. สำนักวิซาการ สำนักงานเลข าธิการสภาผู้แทนราษฎร. [อ อ น ไ ล น์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2563 จาก http://drmlib.parliament.go. th/securepdf/p 411404.pdf
Fawole, Olufunmilayo. (2008). Economic Violence To Women and Girls. Trauma, violence & abuse. 9. 167- 77.10.1177/1524838008319255.
UNDP. (2554). รายงานข้อมูลและตัวชี้วัด ด้านความรุนแรงในผู้หญิงและเด็กหญิง (Gender-based on Violence Against Women and Girls : VAW/G Indicators) . (อ อ น ไ ล น์. สืบค้นเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2563 จาก http://www.undp.org/content/dam/thailand/docs/UNDP%20VAW%20Thai.pdf
WHO. (2017). Violence against women. Retrieved from https://wwwwho.int/news-room/fact. sheets/detail/violence-against-women
Abstract: This research aims to study the causes of domestic violence against women in the context of Thai society. By this study, according to the document research model, by collecting relevant information to synthesize and analyze according to family theory, such as symbolic interaction theory of the family Theoretical structure of family functions and the theory of feminist family found that the cause of domestic violence against women in the context of Thai society is based on cultural values that instill belief in the role of the male leader of the family. Decision-making power and is a big family, a wife is the property of her husband, to look after the family, to do housework, to support the husband. Demonstrating an unequal power relationship including the belief that a fight is a normal practice in the family and this is a personal matter which results in a "legacy of violent behavior" that is accidentally passed on to children or family members.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเหตุแห่งการกระทำรุนแรงในครอบครัวต่อสตรีตามบริบทของสังคมไทย โดยใช้ การศึกษาตามแบบการวิจัยอกสารด้วยการรวขรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องมาสังเคราะห์และวิเคราะห์ตามทฤษฎีครอบครัว ได้แก่ ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ของครอบครัว ทฤษฎีหน้าที่เชิงโครงสร้างของครอบครัว และทฤษฎีครอบครัวสตรีนิยม พบว่า เหตุแห่งการกระทำความรุนแรงในครอบครัวต่อสตรีตามบริบทของสังคมไทยมีฐานมาจากค่านิยม วัฒนธรรม ที่ปลูกฝังความ เชื่อในเรื่องของการมีบทบาทหน้าที่ของฝ่ายชายที่เป็นผู้นำครอบครั่ว มีอำนาจในการตัดสินใจ และเป็นใหญ่ในครอบครัว ส่วน กรรยาเป็นสมบัติของสามี เป็นผู้ดูแลครอบครัวในเรื่องการทำงานบ้าน เป็นผู้ให้การสนับสนุนสามี แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ เชิงอำนาจที่ไม่เสมอภาคกัน รวมถึงความเชื่อเรื่องการทะเลาะลงไม้ลงมือเป็นเรื่องปกติที่เกิดขึ้นในครอบครัว และเรื่องนี้เป็น เรื่องส่วนตัว ซึ่งส่งผลกลายเป็น"มรดกพฤติกรรมความรุนแรง" ที่ส่งต่อไปสู่ลูกหรือสมาชิกในครอบครัวอย่างไม่ตั้งใจ
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1159
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.