Please use this identifier to cite or link to this item:
https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1148
Title: | States and Guidelines for Developing Teachers’ Competency in Small-sized Schools under Primary Educational Service Area Office 2 สภาพและแนวทางการพัฒนาสมรรถะประจำสายงานครูในสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 |
Authors: | Thassanathep, Winiranee Poldech, Sripen Suksang, Penprakai เพ็ญประกาย สุขสังข์ ศรีเพ็ญ พลเดช วินิรณี ทัศนะเทพ |
Keywords: | Teachers’ Competency Small-sized Schools |
Issue Date: | 9-Jul-2020 |
Publisher: | Nakhon Pathom Rajabhat University |
Citation: | พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์ และพยาว์ ยินดีสุข. (2561). การเรียนรู้เชิงรุกแบบรวมพลังกับ PLC เพื่อการพัฒนา. กรุงเทพฯ :
ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. มะลิวัน สมศรี (2558). "การพัฒนาคู่มือพัฒนาสมรรถนะทางวิชาการของครูผู้สอนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2". วารสาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 1(11) : 21 - 33. วรรญา สิงห์ทอง. (2559). การศึกษาสภาพและแนวทางพัฒนาสมรรถนะครูในสถานศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (สาขาวิชา การบริหารการศึกษา). พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2. (2562). แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562. บุรีรัมย์ : กลุ่มนโยบายและแผน. สำนักงานค่ณะกรรมการการศึกษาชั้นพื้นฐาน. (2553). คู่มือประเมินสมรรถนะครู (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ : สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2554). คู่มือการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาโครงการพัฒนาครูทั้งระบบ ปีงบประมาณ 2554. กรุงเทพฯ : หจก.ภาพพิมพ์. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2555). แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 (เพื่อการขอตั้ง งบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555). กรุงเทพฯ : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ. สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2561). มาตรฐานความรู้วิชาชีพครูฐานสมรรถะ. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2562). กรอบสมรรถนะครูเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ซี-ทีซีเอฟ). กรุงเทพฯ : บริษัท ออนป้า จำกัด. สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา (2562). กระบวนการประเมินสมรรถะและจัดทำแผนพัฒนา ตนเอง (ID-Plan). สืบค้นเมื่อ 26 ธันวาคม 2562 จาก http: https://www.moe.go.th/moe/upload/ news research/htmlfiles/18528-8732.html. Suksunai, D., Wiratchai, N., & Khemmani, T. (2011)."Effects of motivational psychology characteristic Factors on teachers' classroom action research performance". Research in Higher Education Journal, 10, 1-12. |
Abstract: | The objectives of this study were 1) to examine the states of teachers’ competency, 2) to
compare teachers’ competency according to work experience; and 3) to investigate guidelines for
developing teachers’ competency in small-sized schools under Primary Educational Service Area Office
2. The study was divided into two phases. Phase 1 was to study and compare the opinions of 327 school
administrators and teachers towards the states of teachers’ competency in small-sized schools. The
samples size were determined by using Krejcie and Morgan’s table and then simple random sampling by
using lottery method was implemented. A questionnaire which comprised of check list, rating scale and
open-ended questions was used to collect the data with the reliability level of 0.970 The statistics used
to analyze the data were percentage, mean, standard deviation and Independent sample t-test. For
phase 2, the data for guidelines of developing teachers’ competency in small-sized schools were
collected by interviewing 9 experts chosen by purposive sampling. The instrument was a semi-structure
interview and the data were analyzed by using content analysis. The results suggested that 1) states of
teachers’ competency in small-sized schools under Primary Educational Service Area Office 2 were at a
high level in overall aspect, 2) comparison of teachers’ competency according to work experience was
not different in each and overall aspect and 3) Guidelines for developing teachers’ competency in
small-sized schools under Primary Educational Service Area Office 2 according to the experts found that:
1) in terms of learning management, school administrators should motivate teachers to develop their
knowledge and practice using technology creatively in order to plan a suitable lesson for the learners, 2)
for learners’ development, school administrators should support and supervise teachers to provide a
chance for the learners to cooperate in lesson planning through variety of learning activities, 3) for
classroom management, school administrators should encourage the teachers to create and update
basic information to be used in lesson planning and 4) in terms of conducting action research for
learners’ development, school administrators should invite the guest speakers specialized in action
research to attend Professional Learning Community (PLC), meetings, training and seminars and also
encourage the teachers to present their research papers in every level of academic conference. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพสมรรถนะประจำสายงานครู 2) เปรียบเทียบสมรรถนะประจำ สายงานครู จำแนกตามประสบการณ์การทำงานและ 3) หาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะประจำสายงานครูในสถานศึกษา ขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 การวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษา สภาพและเปรียบเทียบสภาพสมรรถนะประจำสายงานครูในสถานศึกษาขนาดเล็ก จากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้บริหารสถานศึกษา และครู จำนวน 327 คน โดยการกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามตารางเครจซี่และมอร์แกน แล้วใช้วิธีการสุ่มอย่างง่ายด้วย การจับฉลาก เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.970 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบคำ t (Independent Sample t-test)และระยะที่ 2 ศึกษา แนวทางการพัฒนาสมรรถนะประจำสายงานครูในสถานศึกษาขนาดเล็ก โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน ด้วยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพสมรรถนะประจำสายงานครูในสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา บุรีรัมย์ เขต 2 โดยภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมาก จำนวน 3 ด้าน อยู่ใน ระดับปานกลาง 1 ด้าน โดยด้านการพัฒนาผู้เรียน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือด้านการบริหารจัดการ ชั้นเรียน ด้าน การจัดการเรียนรู้ ส่วนด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียนมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 2) การเปรียบเทียบสภาพสมรรถนะประจำสายงานครู จำแนกตามประสบการณ์การทำงานของผู้บริหารสถานศึกษาและประสบการณ์การทำงานของครู พบว่า โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) แนวทางการพัฒนาสมรรถะประจำสายงานครูในสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 พบว่า 1) ด้านการจัดการเรียนรู้ ควรสร้างแรงจูงใจให้ครูพัฒนาความรู้และฝึกทักษะการใช้สื่อเทคโนโลยี ด้วยตนเองอย่างสร้างสรรค์ เพื่อวางแผนการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียน 2) ด้านการพัฒนาผู้เรียน ควรให้การส่งเสริม สนับสนุน นิเทศติดตาม ช่วยเหลือครูในการเปลี่ยนบทบาทเป็นผู้แนะนำส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวางแผนและออกแบบ การเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย 3) ด้านการบริหารจัดการ ชั้นเรียน ควรให้ครูจัดทำข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานให้เป็น ปัจจุบันและนำมาใช้ในการวางผนการจัดการเรียนการสอน และ 4) ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน ควรเชิญวิทยากร์ที่มีความรู้ เกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียนเข้าร่วมกิจกรรม PLC การประชุม อบรม สัมมนา ให้กับครู และสนับสนุนให้ครูนำเสนอผลการวิจัยในงาน ประหบวิซาการทกระดับ |
URI: | https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1148 |
Appears in Collections: | Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
สภาพและแนวทางการพัฒนาสมรรถนะประจำสายงานครูในสถานศึกษาขนาดเล็ก.pdf | 179.47 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.