Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1115
Title: Comparative study of online and offline marketing channels of organic vegetable producers in Prong maduea Sub district, Mueang district, Nakhon
การเปรียบเทียบช่องทางการตลาดออนไลน์และออฟไลน์ของผู้ผลิตผักปลอดสารพิษ ตำบลโพรงมะเดื่อ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม
Authors: Samitai, Yada
Jantorn, Alisa
Ngamyingyong, Nittaya
Koprasert, Kanokpatch
ญาดา สมิตัย
อริสา จันทร
นิตยา งามยิ่งยง
กนกพัชร กอประเสริฐ
Keywords: online marketing
offline marketing
Organic Vegetable Manufacturers
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: ณัฐวศา สุทธิธาดา. (2559). Online Marketing ใคร ๆ ก็ทำได้ ชนะใจลูกค้า เหนือกว่าคู่แข่ง. กรุงเทพฯ: วิตตี้ กรุ๊ป. ค้นหาเมื่อ 20 มกราคม 2563 จาก https://www.se-ed.com/product/Online-Marketing
เบญจมาศ จันทร์แก้ว. (2551). การประเมินพฤติกรรมการผลิตผักปลอดภัยของเกษตรกร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ค้นหาเมื่อ 20 มกราคม 2563 จาก http://research.rmutsb.ac.th/fullpaper/
พรวิมล เจริญสุข. (2557). ศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผักปลอดสารพิษ กรณีศึกษา:จังหวัดตาก
พฤกษ์ ยิบมันตะสิริ. (2543). เรื่องการส่งเสริมการผลิตและการบริโภคอาหารคุณภาพ ระบบและกระบวนการผลิตผักปลอด สารพิษในจังหวัดเชียงใหม่ 2543 ค้นหาเมื่อ 20 มกราคม 2563 จาก http://research.rmutsb.ac.th/ Quality food consumption
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2535). กลยุทธ์การตลาด : กรณีศึกษาและตัวอย่างข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ 2535. กรุงเทพฯ: พัฒนาศึกษา. ค้นหาเมื่อ 20 มกราคม 2563 จาก http://uc.thailis.or.th/Catalog/ Marketing strategy
ศิริวรรณ เสรรัตน์ และคณะ. (2535). พฤติกรรมผู้บริโภค 2535. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา. ค้นหาเมื่อ 20 มกราคม 2563 จาก http://uc.thailis.or.th/Catalog/ Consumer behavior
Kotler,Philip. (2013). Marketing Management. 11th ed. Upper Saddle River, New Jersey: Prentice Hall. ค้นหาเมื่อ 20 มกราคม 2563 จาก https://scholar.google.co.th/ ป
Kotler,Philip. (2013). Marketing Management. 11th ed. Upper Saddle River, New Jersey: Prentice Hall. ค้นหาเมื่อ 20 มกราคม 2563 จาก https://scholar.google.co.th/
วรวิทย์ เจตนาธรรมจิต. (2552). ส่วนประสมการตลาดในการตัดสินใจซื้อผักปลอดสารพิษของผู้บริโภค 2552.ในเขตนคร หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ค้นหาเมื่อ 20 มกราคม 2563 จาก http://newtdc.thailis.or.th/ Marketing mix
Luciana Lopes Souza Soares,Rosires Deliza and Silvana Pedroso Oliveira. (2008). ได้ศึกษาวิจัยเรื่องความเข้าใจ ของผู้บริโภคบราซิลและการรับรู้ของผักอินทรีย์ ค้นหาเมื่อ 20 มกราคม 2563 จาก http://www.thaicityfarm.com/
Abstract: The objective of this research is to 1) study the advantages of online and offline marketing channels of organic vegetable producers, and 2) study marketing mix factors (4Ps) of consumers and measure the effectiveness of manufacturers. Non-toxic vegetables Classified by personal factors By using Mixed Method Research, both research and qualitative research combined In qualitative research, the sample group used in this research is from interviews with farmers who produce organic vegetables. The samples were 5 structured interviews by using structured interview. The quantitative research (Quantitative research) will use a sample of 384 organic vegetable consumers with 95% confidence and collect data by using a simple random sampling. And analyze the data by using descriptive statistics such as frequency, percentage, mean and standard deviation The research found that 1) Farmers have a process to produce organic vegetables. Most of the time it takes to produce an average of 25-30 days, most of which are grown morning glory. Because it is a vegetable that is growing faster than other vegetables to deliver to Sri Muang market And select all offline marketing channels, and 2) to study consumer marketing mix factors (4Ps) and measure the effectiveness of organic vegetable producers. Classified by personal factors, most respondents are male. Under the age of 25 years, student / student career Have a lower education level than a bachelor's degree and have an income of less than 5,000 baht. Marketing mix factors Overall, found that Respondents ranked the highest level in marketing promotion (x = 4.46, SD = 0.790) in products (x = 4.35, SD = 0.643) in terms of price (x = 4.30, SD = 0.666) and Distribution channels (x = 4.22, SD = 0.708) and measured from the performance measurement Overall, found that Was at the most important level (x = 4.38, SD = 0.636). When considering each aspect, it was found that respondents value the highest level of technical efficiency in adding value (x = 4.43, SD = 0.618 ) On the efficiency of safe vegetables (x = 4.38, SD = 0.636) on the marketing efficiency (x = 4.35, SD = 0.643)
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาข้อได้เปรียบเสียบเปรียบช่องทางการตลาดออนไลน์และออฟไลน์ของผู้ผลิต ผักปลอดสารพิษ และ 2) ศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (4Ps) ของผู้บริโภค และวัดประสิทธิภาพของผู้ผลิตผักปลอด สารพิษ โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล โดยการใช้การวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) ทั้งการวิจัยและ เชิงคุณภาพประกอบกัน ในการวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ จากการ สัมภาษณ์กลุ่มเกษตรกรที่ผลิตกผักปลอดสารพิษ ตำบลโพรงมะเดื่อ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม จำนวน 5 ราย โดยการเก็บ ข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured Interview) ) ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) จะ ใช้ตัวอย่างประชาชนผู้บริโภคผักปลอดสารพิษ จำนวน 384 คน ด้วยความเชื่อมั่น 95% และเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม โดยเลือกการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรมีกระบวนการในการผลิตผักปลอดสารพิษ ส่วนมากใช้เวลาในการผลิตเฉลี่ย 25-30 วัน ส่วนใหญ่จะทำการปลูกผักบุ้งมากที่สุด เพราะเป็นผักที่มีการเจริญเติบโตไวกว่าผักชนิดอื่น ๆ ทำการส่งตลาดศรีเมือง จังหวัดราชบุรี เป็นส่วนใหญ่ และเลือกช่องทางการตลาดออฟไลน์ทั้งหมด และ 2) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุต่ำกว่า 25 ปี อาชีพนักเรียน/นักศึกษา ระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี และมีรายได้ต่ำกว่า 5,000 บาท ปัจจัยส่วน ประสมทางการตลาด (4Ps) โดยภาพรวมพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญในระดับมากที่สุด ( =4.46 ,S.D.=0.790) โดยเรียงลำดับได้ดังนี้ ด้านการส่งเสริมการตลาด ( = 4.46, S.D.=0.790) ด้านผลิตภัณฑ์ ( = 4.35, S.D.=0.643) ด้าน ราคา ( = 4.30, S.D.= 0.666) และด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ( = 4.22, S.D.=0.708) ตามลำดับ และจากการวัด ประสิทธิภาพ โดยภาพรวมพบว่า อยู่ในระดับสำคัญมากที่สุด ( = 4.38, S.D.=0.636) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญในระดับมากที่สุดด้านประสิทธิภาพทางเทคนิคในการเพิ่มมูลค่า ( = 4.43, S.D.= 0.618) ด้านประสิทธิภาพของผักปลอดภัย ( = 4.38, S.D.=0.636) และด้านประสิทธิภาพด้านการตลาด ( = 4.35, S.D.= 0.643)
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1115
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.