Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1108
Title: The Resignation decision of employees of Deestone International Co., Ltd.
การตัดสินใจการลาออกของพนักงานบริษัทดีสโตน อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด
Authors: Kittisoontorn, Banpot
Puttiprapa, Piyapong
บรรพต กิติสุนทร
ปิยพงษ์ พุฒิประภา
Keywords: resignation
regulations regarding the operation
21st century skill
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กิตติชัย สุธาสิโนบล (2559). การพัฒนาทักษะการสอนตามแบบการจัดการเรียนการสอนแบบพุทธะสำหรับ ครู ในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : คอมเมอร์เชียล เวิลด์ มีเดีย.
กานต์ร วีดาวเรือง (2558). ทักษะชีวิตและการวางแผนการดำเนินชีวิตของเด็กและเยาวชนชายหลังออก จ าก ศูน ย์ฝึก และอบรมเด็ก. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ชลทิชา วิทิตกพัทธ์ (2550). การสรรหาและคัดเลือกบุคลากรกลุ่มธุรกิจการเงินในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
ณฐพรรณ ชาญธัญกรรม (2560) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันธ์ต่อองค์การของบุคลากร กรม ชลประทาน (สามเสน). กรุงเทพฯ; หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกริก.
ดำรง วัฒนา (2555). การตัดสินใจลาออก.กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นุชจรี บุญเกต และสมเกียรติ เพ็ชรมาก (2562). ทักษะการรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของครูใน เ ข ต จัง ห วัด ภ า ค ต ะ วัน อ อ ก เ ฉีย ง เ ห นือ ต อ น ล่า ง . สืบ ค้น เ มื่ อ 1 3 ธัน ว า ค ม 2 5 6 2 จ า ก https://etcedumsu.com/etcjournal/Journalaccout/file_journal/file_jn_5cbc39a685741 _2019-04-21.pdf.
นรเศรษฐ วาสะศิริ, ณัฐวัฒน์ พระงาม (2559). สภาพการจัดการทรัพยากรมนุษย์กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของ เจ้าหน้าที่ในมหาวิทยาลัยพิษณุโลก. สืบค้นเมื่อ13 ธันวาคม 2562. จาก http://www3.ru.ac.th/mpaabstract/ files/2560_1561118581_6014830024.pdf.
บุญเรียง ขจรศิลป์ (2533). วิธีวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์การ พิมพ์.
บริษัทดีสโตน อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (2562). ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของบริษัทดีสโตน อิน เ ต อ ร์เ น ชั่น แ น ล จำกัด.
ประเสริฐ ฉัตรชัยศักดิ์ (2556). การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักราชเลขานุการ: การศึกษากรณี แรงจูงใจ.หลกัสูตรนกับริหารการทูต รุ่นที่5. สถาบันการต่างประเทศเทวะวงศว์โรปการ กระทรวงการ ต่างประเทศ.
ประยุทธ อิศดุล (2552). ที่ได้ทำการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการทำงานกับความ ผูกพันต่อองค์กรของ พนักงาน บริษัท เอเชียนสแตนเลย์อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.
พิมลภัสร์ พุฒิพิพัฒน์,หน้า (2557) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเครียดของพนักงานให้บริการทาง โ ท ร ศัพ ท์ใ น เ ข ต กรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาริชยศาสตร์และการ บัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
พรทิพย์ อภินันทพร (2535). ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของมหาบัณฑิตตามการรับรู้ของมหาบัณฑิต ผู้บังคับบัญชา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ภัทรพล เจิมเกาะ (2547). คุณภาพชีวติในการทำงานของอาจารย์วิทยาลัยพณิชยการธนบุรี. วิทยานิพนธ ม ห า บัณ ฑ ติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
รุ่งวิกรัย หยอมแหยม (2554). คุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานบริษัทเมวะเอ็นจิเนียริ่ง จำกัด. สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2562. จาก http://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/52930415/title.pdf.
วิจารณ์ พานิช (2550). วิถีแห่งองค์กรอัจฉริยะ. จุลสารอุตสาหกรรมสัมพันธ์.
วิจารณ์ พานิช (2555). ทักษะในศตวรรษที่ 21. สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2562. จาก http://www.noppawan.sskru.ac.th/data/learn_c21.pdf.
วิจารณ์ พานิช (2555). ทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21. สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2562. จาก http://www.noppawan.sskru.ac.th/data/learn_c21.pdf.
วีระชัย บุญจุรีนาค (2542). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่องค์การคุรุสภา. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรม, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สุวิมล สุริย์วงศ์ (2554). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความยุติธรรมในองค์กรความผูกพันต่อองค์กรและการ รับรู้พฤติกรรมต่อด้านการปฏิบัติงานโดยหัวหน้างาน. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะศิลปะศาสตร์ สาขาจิตวิทยา อุตสาหกรรมและองค์การ.
อิงอร ตั้นพันธ์ (2558). ความผูกพันของพนักงานระดับหัวหน้างานต่อองค์การของบริษัทในนิคม อุตสาหกรรมบางชัน. กรุงเทพฯ : เกษมบัณฑิต.
อนุชา เพ็งสุวรรณ (2548). การศึกษาความต้องการฝึกอบรมเพื่อการพัฒนาสมรรถนะของข้าราชการ สำ ห รับ ก า ร รองรับพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนฉบับใหม่. สืบค้นจาก 20 ธันวาคม 2562 จาก http://www2.gspa.buu.ac.th/library/is/mpa47/47933523.pdf.
อนิวัช แก้วจำนงค์ (2556). การบริหารทรพยากรมนุษย์. สงขลา : ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยทักษิณ. 2421
Abstract: The purpose of this study is to study the Resignation decision of employees, of Deestone International Co., Ltd. including five objectives: The first is the level of human resource management. The second is the level of rules and regulations regarding the operation. The third is the level of 21st century skill, the fourth is the level of exit decision of employees. Fifth is the studies the relationship, human resource management, rules and regulations regarding the operation, 21st century skill and resignation decision of employees of Deestone International Co., Ltd. Data collected through a questionnaire survey from a population of 50 people. Statistical frequency, mean, standard deviation and multiple stepwise regression analysis for data analysis with statistical significance at the level of .0001 The results of this study showed that the resignation decision of employees, of Deestone International Co., Ltd. is at a medium level. Level of human resource management at a high. Level Regulations regarding the operation is at a high level. Level in the 21st century skill is at a medium level. In testing the hypothesis, it was found that health and safety factors, recruiting and selection factors, performance evaluation factors, regulatory factors and regulations regarding the operation influenced the resignation decision of employees of Deestone. International Co., Ltd. 81.2% with statistical significance at the level of .0001
การศึกษาวิจัยเรื่อง การตัดสินใจการลาออกของพนักงานบริษัทดีสโตน อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด มี วัตถุประสงค์ 5 ประการ ประกอบด้วย ประการที่หนึ่ง เพื่อศึกษาระดับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของบริษัทดีสโตน อินเตอร์ เนชั่นแนล จำกัด ประการที่สอง เพื่อศึกษาระดับกฎระเบียบและข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของบริษัทดีสโตน อินเตอร์เนชั่น แนล จำกัด ประการที่สาม เพื่อศึกษาระดับทักษะในศตวรรษที่ 21 ของบริษัทดีสโตน อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ประการที่สี่ เพื่อศึกษาระดับการตัดสินใจการลาออกของพนักงานบริษัทดีสโตน อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ประการที่ห้า เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ กฎระเบียบและข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของบริษัทดีสโตน อินเตอร์เนชั่น แนล จำกัด ทักษะในศตวรรษที่ 21 กับการตัดสินใจการลาออกของพนักงานบริษัทดีสโตน อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด โดยใช้ แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากประชากร จำนวน 50 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0001 ผลการศึกษาครั้งนี้พบว่า ระดับการตัดสินใจการลาออกของพนักงานบริษัทดีสโตน อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด อยู่ในระดับปานกลาง ระดับแนวคิดเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ อยู่ในระดับมาก ระดับข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน ของบริษัทดีสโตน อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด อยู่ในระดับมาก ระดับทักษะในศตวรรษที่ 21 อยู่ในระดับปานกลาง ในการ ทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยด้านสุขภาพและความปลอดภัย ปัจจัยด้านการสรรหาและการคัดเลือก ปัจจัยด้านการ ประเมินผลการปฏิบัติงาน ปัจจัยด้านกฎระเบียบและนโยบายองค์กร และด้านกฎระเบียบและข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน ของบริษัทดีสโตน อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด มีผลต่อการตัดสินใจการลาออกของพนักงานบริษัทดีสโตน อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ร้อยละ 81.2 โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0001
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1108
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.