Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1089
Title: See the future with technological trends towards education in the 21st century.
มองอนาคตด้วยแนวโน้มทางเทคโนโลยีสู่การศึกษาในศตวรรษที่ 21
Authors: SRICHIANG, CHONLACHAI
ชลชัย ศรีเชียง
Keywords: Educational trends in the 21st century
Educational Technologist
The technology
Look into the future
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: ธนวัฒน์ สุธรรมพันธุ์ (2562). จากปัญญาประดิษฐ์สู่การประดิษฐ์ปัญญา. ค้นเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2563, เข้าถึงได้จาก https://www.etda.or.th/content/ai-is-a-game-changer.html
นิกร จันภิลม. (2561). เทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0. วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (ม.ค. - เม.ย.) 2562.
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (2562). เครื่องมือการมองอนาคต. สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กรุงเทพมหานคร : สถาบันการมองอนาคตนวัตกรรม (IFI).
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2549) การมองอนาคต : ปรัชญาและหลักการ. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. กรุงเทพมหานคร. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวีโรฒ.
ราชบัณฑิตยสถาน (2554). พจนานุกรม ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 คั้นเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2563, เข้าถึงไต้จาก http://www.royin.go.th/dictionary/
มหศักดิ์ เกตุฉ่ำ (2563) Internet of Things (10T). ภควิชการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ. คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำพระนครเหนือ. ค้นเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2563, เข้าถึงได้จาก http://203.155.220.230/bmainfo/data_DDS/document/internet-of-things.pdf
สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล. การคาดการณ์อนาคต เทคโนโลยีดิจิทัลประเทศไทย 2035. คันเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2563, เข้าถึงไต้จาก. https://www.depa.or.th/storage/app/media/file/Second%20Deliverable%20Rewer9620TH9620V12%20140819 9620FIN.pdf
สุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์ (2560) ทิศทางการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารวิชาการ Veridian E-Journalปีที่ 10 ฉบับที่ 10 (พ.ค. - ส.ค.) 2560.
ชัยยงค์ พรหมวงศ (2562 : ออนไลน์) แนวทางการพัฒนาการศึกษาสำหรับประเทศไทย 4.0 เพื่อก้าวสู่ประเทศไทย 5.0 โดย สภาปฏิรูปการศึกษาภาคประชาชน พ.ศ. 2562. คันเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2563, เข้าถึงได้จาก https://www.tci- thaijo.org/index.php/ectstou/article/download/216043/150135/
Abstract: The future is uncertain or has not happened. Looking at or anticipating a possible future helps to define. Or laying out a structure to deal with things that will come in the future Create systematic attempts to predict science, technology, economy, environment, and society in the long run. By defining the scope of strategic research for maximum benefit Until it can be developed into a form of guideline or technology that uses knowledge to develop to cope with the future In which technology is part of the application of scientific knowledge for practical benefits Today, technology affects many aspects of human life. And the information network technology is the technology that has the greatest impact on human life Especially electronic devices or digital technology that is connected to the internet network And able to access a variety of information from a wide variety of subject areas from all over the world Resulting in a learning society all the time Therefore, the direction of educational management in the 21st century should develop the learners to be quality people by the learning process and the experience training. Until creating new knowledge through various supporting factors, including educational administration system, technology and educational innovation Through the support of personnel with expertise in managing educational technology both inside and outside the organization Whether in the matter of educational technology related to educational administration Internal education management And outside the classroom To help promote a learning process that is better than in the past and is the most effective.
อนาคตเป็นสิ่งที่ไม่แน่นอนหรือยังไม่เกิดขึ้น การมองหรือการคาดการณ์ถึงอนาคตที่มีความเป็นไปได้นั้นเป็นสิ่งที่ช่วย กำหนด หรือวางโครงสร้างรูปแบบเพื่อรับมือสิ่งต่ง ๆ ที่จะเข้ามาในอนาคต่ ก่อให้เกิดความพยายามอย่างเป็นระบบที่จะ คาดการณ์วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสังคมในระยะยาว โดยการกำหนดขอบเขตของการวิจัย เชิงยุทธศาสตร์เพื่อประโยชน์สูงสุด จนสามรถพัฒนาเป็นรูปแบบ แนวทาง หรือวิทยาการที่นำเอาความรู้มาใช้ในการพัฒนา เพื่อรับมือกับอนาคที่จะเกิดขึ้น ซึ่งเทคโนโลยีเป็นส่วนหนึ่งในการเอาวิทยาการความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ ในทางปฏิบัติ ในปัจุจุบันเทคโนโลยีมีผลกระทต่อชีวิตนุษย์มากมายหลายต้าน และเทคโนโลยีประเภทเครือข่ายสารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีที่มีผลกระทบต่อชีวิตของมนุษย์มากที่สุด โดยเฉพาะอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีการเชื่อมต่อ เข้ากับเครื่อข่ายอินทอร์เน็ต และสามารถเข้าถึงข้อมูลความรู้ที่หลากหลายจากแขนงสาขาวิชาต่าง ๆ ได้อย่างมากมาย จากทุก แห่งทั่วโลก ทำให้เกิดเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดเวลา ดังนั้นทิศทางการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 จึงควรพัฒนาผู้เรียน ให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพด้วยกระบวนการเรียนรู้และการฝึกประสบการณ์ จนก่อเกิดองค์ความรู้ใหม่ ๆ ผ่านปัจจัยเกื้อหนุน ต่าง ๆ ทั้งในต้านระบบการบริหารการศึกษา เทคโนโลยี และนวัตกรรมทางการศึกษา โดยอาศัยการสนับสนุนจากบุคลากรที่มี ความเชี่ยวชาญในการจัดการกับทคโนโลยีการศึกษาทั้งภายในและภายนอกองค์กร ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของเทคโนโลยี การศึกษาที่เดี่ยวข้องกับการบริหารการศึกษา การจัดการศึกษาทั้งภายใน และภายนอกห้องเรียน เพื่อช่วยส่งเสริมให้เกิด กระบวนการเรียนรู้ที่ดีกว่าอดีตที่ผ่านมาและมีประสิทธิภาพมากที่สุด
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1089
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.