Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1085
Title: Carbon and Water Footprints Assessment Case Study : Bakelite plastic-mixed concrete production process
การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์และวอเตอร์ฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ กรณีศึกษา กระบวนการผลิตคอนกรีตผสมพลาสติกเบกกาไลท์
Authors: Pholkoed, Chalisa
ชาลิสา ผลเกิด
Keywords: Carbon Footprint.
Water Footprint.
Bakelite plastic.
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กรมโรงงานอุตสาหกรรม (2549) คู่มือมาตรฐานการกำกับดูแลโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ. กรุงเทพฯ สำนัก โรงงานอุตสาหกรรมรายสาขา 3
ขนิษฐา มีวาสนา. (2560). การศึกษาเปรียบเทียบวอเตอร์และคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของยางพาราแผ่นที่ผลิตในพื้นที่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้, นครราชสีมา. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
นพกร อุสาหะนันท์. (2560) การศึกษาคุณสมบัติเชิงกลและการเสนอแนะแนวทางที่เหมาะสมในการนำไปใช้งาน ของคอนกรีตผสมพลาสติกเบกกาไลท์โดยการตรจสอบตามมาตรฐานและข้อกำหนดตามกฎหมาย. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการตรวจสอบและกฎหมายวิศวกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
นินนาท พรหมจินดา. (2561). การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ กรณีศึกษา กระบวนการผลิต เชื้อเพลิงขยะอัดแท่งจากชีวมวลทางการเกษตร. วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการตรวจสอบและกฎหมายวิศวกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ธารทิพย์ เศรษฐชาญวิทย์. (2558) การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์และวอเตอร์ฟุตพริ้นท์ตามหลักการประเมินวัฏ จักรชีวิตของอุตสาหกรรมแป้งมันสำปะหลัง. ปรัชญาตุษฎีบัณฑิต สาขาพัฒนาสังคมและกรจัดการสิ่งแวดล้อม คณะพัฒนา สังคมและสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
สถาบันน้ำและสิ่งแวดล้อมเพื่อความยั่งยืน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย.(2019) แนวทางการประเมินวอเตอร์ ฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์. คันเมือ 7 ธันวาคม 2562 จาก https/weis.fi.or.th/การประเมินฟุตพริ้นท์-footprint
สำนักวิจัยและพัฒนางานทางกรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม (2559) รายงานสรุปผลการศึกษาสำหรับผู้บริหาร โครงการพัฒนาระบบคำนวณรอยเท้าคาร์บอนจากการก่อสร้งและบำรุงทางหลวง กรุงเทพ ฯ บริษัทอินฟราพลัส จำกัต
องค์การบริหารจัตการก๊ซเรือนกระจก (องค์การมหาชน). ( 2012-2020) ฉลากคาร์บอนและคาร์บอนฟุตพริ้นท์ ขององค์กร . ค้นเมื่อ 7 ธันวาคม 2562 จาก http://thaicarbonlabel.tgo.or.th/home/home.pnc
อรวิกา ศรีทอง. (2559) การศึกษาวอเตอร์ฟุตพริ้นท์ของข้าว ในเขตจ.สุพรรณบุรี วารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราช มงคลธัญบุรี, 2559 (ฉบับที่ 1), 23-32.
Abstract: This research is quantitative research with the objective of carbon footprint and water footprint of the Bakelite plastic-mixed concrete to replace the coarse aggregate of 20% and compare the amount of carbon footprint and water footprint of the production process General concrete and concrete mixed with plastic Bakelite Volume of 1 cubic meter used for pouring the floor. In accordance with the guidelines of the Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public organization). Based on the Life Cycle Assessment (LCA) principle. Business-to-Business (B2B), starting from 1. The acquisition of raw materials at distances 1,5,15 and 30 km has a carbon footprint of 0.4052, 2.0258, 6.0775, 12.1551 kgCO2e, Respectively, 2. The production process of Bakelite plastic mixed concrete and general concrete production process has carbon footprint equal to 558.3382 kgCO2e and 371.5643 kgCO2e, Respectively. And 3. Transporting concrete to destinations at distances of 1,5,15 and 30 km has a carbon footprint of 0.2078, 1.0389, 3.1167, 6.2334 kgCO2e equal to general concrete. For the determination of the water footprint calculated In the production of 1 cubic meter of concrete, use 200 liter of water equal to the production of general concrete . For carbon footprint reduction, Should study other types of plastics and the use of alternative energy to reduce the use of additional electrical energy. For the evaluation of water footprint , Should study Green Water Footprint and Gray Water Footprint should be evaluated to cover all water use data in order to find ways to reduce water use and wastewater renovation.
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณการเกิดคาร์บอนฟุตพริ้นห์และวอเตอร์ฟุตพริ้นห์ของกระบวนการผลิต คอนกรีตผสมพลาสติกเบกกาไลท์เพื่อทดแทนมวลรวมหยาบร้อยละ 20 และเปรียบเหียบปริมาณาร์บอนฟุตพริ้นท์ของ กระบวนการผลิตคอนรีตทั่วไปและของกระบวนการผลิตคอนกรีตผสมพลาสติกเบกกาไลท์ ปริมาณ 1 M' ที่ใช้สำหรับการเท พื้น ตามแนวทางขององค์การบริหารจัดการก๊ซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) อาศัยหลัก Ljfe Cycle Assessment ( L CA ) โดยประเมินแบบ Business-to-Business (82B) เริ่มตั้งแต่ 1. การได้มาซึ่งวัตถุดิบที่ระยะทาง 1,5,15และ 30 km มีค่า คาร์บอนฟุตพริ้นท์เท่ากับ 0.4052 , 2.0258 ,6.0775,12.1551 KSCO.e ตามสำดับ 2. กระบวนการผลิตคอนกรีตผสม พลาสติกเบกกาไลท์และกระบวนการผลิตคอนกรีตทั่วไปมีค่าคาร์บอนฟุตพริ้นห์เท่ากับ 558.3382 kgCOe และ 371.5643 kฐCO e ตามลำดับ และ 3. การขนส่งคอนกรีตไปยังจุดหมายที่ระยะทาง1.5,15 และ 30 กิโลเมตร มีค่าคาร์บอนฟุตพริ้นท์ เท่ากับ 0.2078 1.0389 3.1 167 ,6.2334 kgCO.e เท่ากับคอนกรีตทั่วไป สำหรับการหาค่าวอเตอร์ฟุตพริ้นท์คำนวณในส่วน ของการผลิตเท่านั้น ซึ่งในการผลิตคอนกรีต 1 m' ใช้น้ำ 200 ลิตร เท่ากับการผลิตคอนกรีตทั่วไป สำหรับการลดคาร์บอน ฟุตพริ้นห์ควรศึกยาประเภทขยะพลาสติกชนิดอื่นๆเพิ่มเติมและการใช้พลังงานทดแทนต่างๆเพื่อลดการใช้พลังงานไฟฟ้า ส่วน ค่าวอเตอร์ฟุตพริ้นท์ควรประเมินค่า Green Water Footprint แล: Gray Water Footpint เพื่อให้ครอบคลุมข้อมูลการใช้ น้ำทั้งหมดเพื่อหาแนวทางการลดปริมาณการใช้น้ำและนำน้ำกลับมาใช้ใหม่
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1085
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.