Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1084
Title: Employee Safety Management of Nirvana Farms & Community Co., Ltd. Tumbol Tha Luang, Amphoe Mueang, Nakhon Pathom.
การจัดการความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานบริษัท เนอร์วาน่าฟู้สด์ แอนด์คอมเมิซ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ตำบลทัพหลวง อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม
Authors: Pengrungruangwong, Rungnapa
รุ่งนภา เพ่งรุ่งเรืองวงษ์
Keywords: Safety Management,
Nirvana Farms & Community Co.,
Ltd.
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: แก้วฤทัย แก้วชัยเทียม. (2548). การรับรู้การจัดการความปลอดภัยและพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานของ พนักงานระดับปฏิบัติการ. วิทยานิพนธ์ ปริญญาโทศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ.
จารุวรรณ วิโรจน์. (2550). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับ หัวหน้างาน.วิทยานิพนธ์ ปริญญาโทบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
จิตรา วิมลธำรง. (2538). ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ ทัศนคติ ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยกับการจัดการความ ปลอดภัยของผู้ควบคุมงานในโรงงานอุตสาหกรรมผลิตยางรถยนต์ในจังหวัดสมุทรสาคร. วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท จิตวิทยามหาบัณฑิต(จิตวิทยาอุตสาหกรรม) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ชลธิชา ชาญยุทธโยธิน. (2553). ความคิดเห็นของพนักงานต่อความปลอดภัยในการทำงาน กรณีศึกษา บริษัทกู๊ดเวย์ โฮลดิ้ง จำกัด สาขารังสิต. วิทยานิพนธ์ ปริญญาโทบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ธนัชชา เบญจเสฎฐ์. (2548). การบริหารจัดการโรงงานที่มีผลต่อความปลอดภัยของพนักงานในสวนอุตสาหกรรมโรจนะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทั่วไป บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
นววิธ จิตต์วรไกร. (2554). ความตระหนักด้านความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานบริษัทเบสท์ เพอลฟอร์แมนซ์ เอ็น จิเนียริ่ง จำกัด. วิทยานิพนธ์ ปริญญาโทเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
บริษัทเนอร์วาน่าฟู้สด์ แอนด์คอมเมิซ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด. (2561). ข้อมูลพื้นฐาของบริษัท. ค้นเมื่อ 1 มิถุนายน 2561 จาก www.nirvanafoods.com.
ปัทมา พุ่มมาพันธุ์. (2542). ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพความรู้ด้านการจัดการความปลอดภัย ความพึงพอใจต่อการ จัดการความปลอดภัยและพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานในโรงงานผลิตเหล็กกล้าไร้สนิม. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท จิตวิทยามหาบัณฑิต (จิตวิทยาอุตสาหกรรม) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ฟ้ารัตน์ สมแสน. (2539). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อพฤติกรรมเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงานของคนงานก่อสร้าง ใน กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ปริญญาโทสาขาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย รามคำแหง.
รัตนวรรณ ศรีทองเสถียร. (2542). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ระบบความปลอดภัยและพฤติกรรมความปลอดภัยในการ ทำงานของพนักงานโรงงานอุตสาหกรรม. วิทยานิพนธ์ ปริญญาโทสาขาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา จิตวิทยาอุตสาหกรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
รัศลี จอประยูร. (2551). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความปลอดภัยในการทำงาน ของพนักงาน บริษัท คาร์ตัน ออปทิคัล [สยาม] จำกัด. วิทยานพิ นธบริหารธรุ กิจมหาบณั ฑ ิต (การจัดการทวั่ ไป ).บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยุธยา.
วันเฉลิม พลอินทร์. (2549). การสนับสนุนเรื่องความปลอดภัยและอนามัยในการทำงานขององค์การ พฤติกรรม ความปลอดภัยและคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงาน บริษัทปูนซิเมนต์ไทยทุ่งสง จำกัด. วิทยานิพนธ์ ปริญญาโทศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
ศรัณย์ ศรลัมพ์. (2540). สาเหตุที่ก่อให้เกิดอุบัติภัยกับผู้ใช้แรงงานในโรงงานอุตสาหกรรม . วิทยานิพนธ์ ปริญญาโทปริญญา นิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต (เอกอุตสาหกรรมศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
สุภชฎา ชูชื่น. (2558). การบริหารจัดการความปลอดภัยที่มีผลต่อพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานของพนักงาน บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน)ในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ปริญญาโทบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด.
สุกัญญา ทองศรี. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อความปลอดภัยในการทำงานของพนักงาน กรณีศึกษา โรงงานผลิตอาหารสัตว์ น้ำมหาชัย บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน). วิทยานิพนธ์ ปริญญาโทบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขา วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สุรสิงห์ วรคุณาลัย. (2551). การรับรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงานและการปฏิบัติงานอย่างปลอดภัยของพนักงาน ฝ่ายปฏิบัติการคลังสินค้า บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน). วิทยานิพนธ์ ปริญญาโทศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.
อารี เพชรผุด. (2536). มนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน. กรุงเทพฯ: เนติกุลการพิมพ์.
Abstract: This study has a purpose. 1) To study the level of safety management in the work of employees. 2) To study the ways to strengthen the safety of employees. A study of 140 subjects used the questionnaire as a data collection tool. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation. And data collection with open-ended questions by content analysis.The study indicated that 1) The level of safety management in the work of employees. Employees are constantly monitoring their operations. Employees know chemical defense or mechanical hazards, to help reduce the severity of the accident, working with machines is more cautious. 2) Employee safety measures should be regularly organized to ensure that employees are aware of the safety hazards of their employees every month, strictly wear safety equipment to work in different departments. There should be sufficient lighting in the area, machine operation recommendations the company should set policies and measures to promote safety activities. Opportunity for employees to participate. Disseminate comprehensive information and evaluate employee performance on a continuous basis. Employees should be aware of the risk of intoxication, resting is not enough. They also focus on the safety activities that the company provides.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการจัดการความปลอดภัยในการทำงานของพนักงาน 2) เพื่อศึกษา แนวทางการเสริมสร้างความปลอดภัยในการทำงานของพนักงาน โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา 140 คน ใช้ แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเพื่อหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับการจัดการความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานอยู่ในระดับปานกลาง พนักงานมี การตรวจสอบการปฏิบัติงานอยู่ตลอดเวลา พนักงานรู้จักการป้องกันตัวจากสารเคมี หรืออันตรายจากเครื่องจักร เพื่อช่วยลด ความรุนแรงจากอุบัติเหตุได้ การทำงานกับเครื่องจักรมีความระมัดระวังมากขึ้น 2) แนวทางการเสริมสร้างความปลอดภัยใน การทำงานของพนักงาน ควรจัดการอบรมอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้พนักงานตระหนักถึงอันตรายของความปลอดภัยให้กับ พนักงานในทุกๆเดือน ควรเคร่งครัดเรื่องการสวมอุปกรณ์เซฟตี้ในการทำงานในแผนกต่างๆ ควรมีแสงสว่างที่เพียงพอในพื้นที่ การทำงานที่ต้องใช้เครื่องจักร เพื่อป้องกันอันตราย ข้อเสนอแนะ บริษัทควร กำหนดนโยบายและมาตรการการส่งเสริม กิจกรรมด้านความปลอดภัยให้ดียิ่งขึ้น เปิดโอกาสให้พนักงานมีส่วนร่วม กระจายข่าวสารข้อมูลอย่างทั่วถึงและประเมินการ ปฏิบัติงานของพนักงานอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ ส่วนพนักงานควรตระหนักในภาวะเสี่ยงจากผลของเครื่องดื่มที่ทำให้มึนเมา การพักผ่อนที่ไม่เพียงพอ รวมทั้งให้ความสำคัญกับกิจกรรมความปลอดภัยที่บริษัทจัดให้มีขึ้น
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1084
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.