Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1053
Title: THE IMPACT OF CIGARETTE TAX INCREASES ON YOUTH’S SMOKING BEHAVIOR A CASE STUDY OF STUDENT IN KASETSART UNIVERSITY
ผลกระทบของการเพิ่มภาษีบุหรี่ต่อพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของเยาวชน กรณีศึกษานิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Authors: Rangsiyanon, Krittanon
Chanagul, Chittawan
กฤตานนท์ รังสิยานนท์
ชิดตะวัน ชนะกุล
Keywords: Smoking
Kasetsart University
Cigarette tax,
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กรุงเทพธุรกิจ. (2562). จำนวนคนไทยเสียชีวิตจากบุหรี่. ค้นเมื่อ กรกฎาคม 2562 https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/836671
คมสัน สุริยะ. (2552), แบบจำลองโลจิตะ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ในการวิจัยทางเศรษฐศาสตร์. กันเมื่อ พฤษกาคม 2563 https://www.slideshare.net/mobile/bnnbear/1basic-logit
ชิดตะวัน ชนะกุล. (2562). ทฤษฎีและนโยบายการคลัง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. พรรณปพร ลีวิโรจน์และดร.อรวรรณ คุณสอง. 255. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการสูบบุหรี่ และผลการพัฒนา โปรแกรมการปรับความคิดและพฤติกรรม เพื่อลดการสูบบุหรี่ในวัยรุ่นนอกระบบการศึกษา. รายงานการวิจัย, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.).
ราเชนทร์ อุดมลาภธรรม. (2549). เปรียบเทียบทัศนคติและแนวโน้มพฤติกรรมการตัดสินใจทำเลสิคและการใช้คอนแทค เลนส์ของผู้มีปัญหาสายตาในเขตกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
รรรณภา มาลัยมาตร์. (2556), ความเต็มใจจ่ายของผู้สูบบุหรี่ในกรณีที่มีการปรับเพิ่มภาษีบุหรี่ กรณีศึกษาจากกลุ่ม ตัวอย่างในกรุงเทพมหานคร. การศึกษาค้นคว้าอิสระ. เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศิรภัสสร กุลศรี. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อการเลิกสูบบุหรี่ของผู้ที่เข้ารับบริการในคลินิกอดบุหรี่ ของโรงพยาบาลพระ นารายณ์มหาราชจังหวัดลพบุรี. สารนิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.]
ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ. (2560). รายงานสถิติการบริโภคยาสูบของประเทศไทย พ.ศ.2561. กรุงเทพฯ: เจริญดีมั่นคงการพิมพ์.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2560). พฤติกรรมการสูบบุหรี่และการดื่มสุราของประชากร 2560. ค้นเมื่อ กรกฎาคม 2562. จา http://www.nso.go.thv/sites/2014/Pages/สำรวจ/ด้านสังคม/สุขภาพ พฤติกรรมการสูบบุหรี่และการดื่มสุรา.aspx
Asian Corrrespondent. (2019). Big Tobacco's smoke and mirrors in Asean. ค้นเมื่อ กันยายน 2562. จาก https://asiancorrespondent.com/2018/03/big-tobaccos-smoke-mirrors- asean/#SF7VYID2kETa6IGv.97
Lucy Rutter, John Britton and Tessa Langley. (2017). Price-Minimizing Behaviors in Response to Increasing Tobacco Price: A Cross-Sectional Study of Students, Journal of child & Adolescent Substance Abuse. Vol (26), 367-375.
Summer S. Hawkins, Nicoline Bach and Christopher F. Baum. (2016). Impact of Tobacco Control Policies on Adolescent Smoking. Boston College, USA.
Voiceonline. (2019). 10% ของคนสูบบุหรี่ในอาเซียน, ค้นเมื่อ กันยายน 2562 จาก https://voicetv.co.th/read/BkyeWEHdz
Abstract: The objectives of study were to study towards cigarette smoking behavior of youth from the cigarette tax increases in 2017 and to study the factors affecting the decline of youth smoking from the cigarette tax increases. The sample group used in the study was undergraduate students of Kasetsart University, Bangkhen Campus, and collected data by using 400 sets of questionnaires. Data were analyzed by using descriptive statistics such as frequency, percentage, and Binary Logistics Regression. The results revealed that the factors affecting the decline of youths smoking from the cigarette tax increases were statistically significant which consisted of the characteristics of accommodation, cigarette brands, smoking frequency, changes in cigarette brands, or types after cigarette tax increases. There was a positive correlation between the attitude towards the increases in cigarette prices and the reduction of smoking expenses. In other words, students who do not live with their parents will be smoking imported brands occasionally. If students change the cigarette type or brand after the cigarette tax increase and have an attitude towards the increase in cigarette prices in terms of reducing smoking costs, there will be the opportunity to decline smoking after the cigarette tax increases. In terms of education level, the status of parents has a negative correlation. In other words, students with higher education level and the status of their parents are divorced or separated, students will have the opportunity to reduce smoking after the cigarette tax increases have been declined.
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของเยาวชนจากการขึ้นภาษีบุหรี่ ปี 2560 รวมถึงศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการลดลงของการสูบบุหรี่ในยาวชนจากการขึ้นภาษีดังกล่าว กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ นิสิตระดับชั้นปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน โดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม จำนวน 400 ชูด ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าอัตราส่วนร้อยละ และแบบจำลอง Binary Logistics Regression ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการสูบบุหรี่ที่ลดลงของเยาวชนจากการขึ้นภาษีบุหรี่ อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ลักษณะการพักอาศัย ยี่ห้อบุหรี่ ความถี่ในการสูบบุหรี่ การเปลี่ยนแปลงยี่ห้อหรือประเภทบุหรี่ หลังจากเพิ่มภาษีบุหรี่และเจตคติต่อการขึ้นราคาบุหรี่ในเรื่องของการลดค่าใช้จ่ายในการลูบบุหรี่ มีความสัมพันธ์เชิงบวก นั่น คือ นิสิตที่ไม่ได้พักอาศัยกับพ่อแม่ มีการสูบบุหรี่ยี่ห้อนำเข้า สูบบุหรี่เป็นครั้งคราว หากนิสิตมีการเปลี่ยนแปลงประเภทหรือ ยี่ห้อบุหรี่หลังจากเพิ่มภาษีบุหรี่และมีหัศนติต่อการขึ้นราคาบุหรี่ในเรื่องของการลดค่าใช้จ่ายในการสูบบุหรี่ จะมีโอกาสลดการ สูบบุหรี่หลังจากการเพิ่มภาษีบุหรี่เพิ่มขึ้น ในส่วนของระดับชั้นการศึกษา สถานภาพของบิดามารดา มีความสัมพันธ์เชิงลบ นั่น คือ นิสิตที่มีระดับชั้นการศึกษาสูงขึ้น และสถานภาพของบิดามารดาหย่าร้างหรือแยกกันอยู่ จะมีโอกาสลดการสูบบุหรี่หลังจาก การเพิ่มภาษีบุหรี่ลดลง
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1053
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.