Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1028
Title: Factors affecting the selection of electronic payment services (e-Wallet) : The case study of TrueMoney Wallet and rabbit Line Pay
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกใช้บริการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์แบบ e-Wallet กรณีศึกษา TrueMoney Wallet และ rabbit Line Pay
Authors: Udomsin, Thanadol
Laosuthi, Thanarak
ธนาดล อุดมสิน
ธนารักษ์ เหล่าสุทธิ
Keywords: Chi-square test
user behavior
electronic-payment
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: จำนวนผู้ใช้ mobile wallet (Online). ค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2562 จาก www.marketbuzzz.com ฉลองศรี พิมลสมพ งศ์. (2548). การวางแผนและการพัฒ นาตลาดการท่องเที่ยว . ศิลปศาสตรบัณ ฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ชวิศา พุ่มดนตรี. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการใช้บริการพร้อมเพย์ (PromptPay). บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ณัฐพิมล พุทธิพนาเวศ. (2550). ความคาดหวังและความต้องการของผู้บริโภคต่อเงินอิเล็กทรอนิกส์ (Expectation and Need of consumer in e-money). วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2562). มูลค่าการชำระเงินผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payments) (Online). ค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2562 จาก www.bot.or.th/Thai/Statistics/PaymentSystems/Pages/StatPaymentTransactions.aspxบริษัท ทรู มันนี่ จำกัด. ข้อมูลแอปพลิเคชัน TrueMoney Wallet (Online). ค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2562 จาก www.truemoney.com
บริษัท แรบบิท-ไลน์ เพย์ จำกัด. ข้อมูลแอปพลิเคชัน rabbit Line Pay (Online). ค้นเมื่อ 1พฤศจิกายน 2562 จาก www.pay.line.me เปรียบเทียบ “rabbit Line Pay” VS “TrueMoney Wallet” ใครจะครองตลาด e-Wallet ในเมืองไทย (Online). ค้น เมื่อ 1 พฤศจิกายน 2562 จาก www.checkraka.com/knowledge/credit-card-2-77/1728423
ภาวิณี กาญจนาภา. (2554). พฤติกรรมผู้บริโภค. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร. สงคราม e-Wallet 2020 (Online). ค้นเมื่อ 5 พฤศจิกายน 2562 จาก www.marketeeronline.archives/122047
อารยา แท้สูงเนิน. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการชำระเงินผ่านระบบ QR Code ของผู้บริโภคเจเนอเรชั่น เบบี้บูมเมอร์ในกรุงเทพมหานคร. เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Hanna N. & Wozniak R. (2 0 0 1 ). Consumer behavior: An applied approach. Upper Saddle River. NJ, Prentice Hall.
Philip Kotler et al. (2008). Service Marketing Mix : 7P’s. Roger A.Kerin, Steven W.Hartley, and William Rudelius. (2009). Marketing : The core. 1670
Abstract: This study used a descriptive design. The aims of this study are 1) to study the user behavior between the user of TrueMoney Wallet and rabbit Line Pay providers towards the electronic-payment service (E-Wallet) and 2) to study factors effecting user behavior. The data was conducted by questionnaire from 400 participants who lives or work in Bangkok. In the data analysis, the descriptive analysis was utilized, consisting of frequency distribution, percentage, and mean while Chi-square was used to examine the hypothesis at 0.10, 0.05 and 0.01 statistical significance. The results of this study found that the individual factors (gender, occupation and reference group) have a significant relationship with the selection of e-wallet services. Furthermore, education, occupation, motivation and reference group are remarkably related to the reason for choosing e-wallet providers. The frequency of use behavior and the amount of service payments via e-wallet per month correlate with gender, age, and monthly income. However, the marketing mix factors (price place promotion and process) plays a crucial role in choosing e-wallet services while product price promotion people, and physical evidence and presentation relate to the reason for selecting e-wallet services. The usage behavior of frequency and the amount of service payment via e-wallet per monthly correlate with product price and process.
การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงพฤติกรรมของผู้ใช้บริการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์แบบ e-Wallet ของผู้ให้บริการ TrueMoney Wallet และ rabbit Line Pay และศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้บริการดังกล่าว โดยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม จากกลุ่มตัวอย่าง 400 ชุด ที่อาศัยหรือทำงานอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าอัตราส่วนร้อยละ และค่าเฉลี่ย สถิติเชิงอนุมาน โดยใช้การทดสอบไคสแควร์ (Chi-Square) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.10 0.05 และ 0.01 โดยพบว่า ปัจจัยส่วนบุคคล ในด้านเพศ อาชีพ และกลุ่มบุคคลอ้างอิง มีความสัมพันธ์ต่อการเลือกใช้บริการ e-Wallet ในขณะที่ระดับการศึกษา อาชีพ แรงจูงใจ และกลุ่มบุคคลอ้างอิง มีความสัมพันธ์ต่อเหตุผลในการเลือกใช้บริการ e-Wallet ส่วนพฤติกรรมการใช้งาน ในด้านความถี่และจำนวนเงินที่ใช้ชำระบริการผ่าน e-Wallet ต่อเดือน มีความสัมพันธ์กับด้านเพศ อายุ และรายได้ ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในด้าน Price Place Promotion และ Process มีความสัมพันธ์ต่อการเลือกใช้บริการ e-Wallet ใน ข ณ ะ ที่ด้าน Product Price Promotion People แ ล ะ Physical evidence and Presentation มีความสัมพันธ์ต่อเหตุผลในการเลือกใช้บริการ e-Wallet ส่วนพฤติกรรมการใช้งานในด้านความถี่และจำนวนเงิน ที่ใช้ชำระบริการผ่าน e-Wallet ต่อเดือน มีความสัมพันธ์กับด้าน Product Price และ Process
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1028
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.