Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1023
Title: Factors Affecting the Adjustment of Small and Medium Enterprises in Ying Pao Road, Nakhon Pathom Province in Thailand 4.0
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการปรับตัวของผู้ประกอบการ SME ในพื้นที่ ถนนยิงเป้า จังหวัดนครปฐม ในยุคไทยแลนด์ 4.0
Authors: Chokthanasuksiri, Thitikorn
Srikong, Chanathip
Ngamyingyong, Nittaya
Settheerathan, Jemine
ฐิติกร โชคธนสุขสิริ
ชนาธิป ศรีคง
นิตยา งามยิ่งยง
เฌอมินทร์ เศรษฐ์ธีราธัญ
Keywords: small and medium enterprise entrepreneurs
Thailand 4.0
adjustment
Impact
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: Harit Charoensuk (2562). ผู้ประกอบการ SME. ค้นเมื่อ 15 มกราคม 2563. จาก https://www.peerpower.co.th/
สุดารัต เป้ทุ้ม (2562). ความหมายของการปรับตัว. ค้นเมื่อ 15 มกราคม 2563. จาก https://pattanieconomy.com/2019/04/05
ศศิมา สุขสว่าง. (2560) ความหมายของ Thailand 4.0. ค้นเมื่อ 15 มกราคม 2563. จาก เว็บไซต์ https://sites.google.com/site/adecmju4608/home/prawati
สุวิต (2559). ปัจจัยแวดล้อมทางธุรกิจ. ค้นเมื่อ 15 มกราคม 2563. จาก https://sites.google.com/site/businessandentrepreneurship/
บริษัท สวิฟต์เลท จำกัด. (2563). SWOT. ค้นเมื่อ 15 มกราคม 2563. จาก https://www.tereb.in.th/erp/swot/
สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนา การศึกษากระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม. (2553). งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง. ค้นเมื่อ 15 มกราคม 2563. จาก https://tdc.thailis.or.th/tdc/basic.php
ธนาคารกรุงไทย. (2563). SMEs ไทย ทำอย่างไรถึงจะได้เป็น SMEs 4.0. ค้นเมื่อ 15 มกราคม 2563. จาก https://sme.ktb.co.th/sme/productListAction.action?
อังสนา ประสี. (2555). รายงานการวิจัยเรื่อง ปัญหาการดำเนินงานและความต้องการสนับสนุนของธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อมในจังหวัดนครสวรรค์. ลำปาง:มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง. ค้นเมื่อ 15 มกราคม 2563.
รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร. (2555). รายงานการวิจัยเรื่อง การบริหารความได้เปรียบทางการแข่งขันเพื่อความสำเร็จในการ ดำเนินงานของธุรกิจ SMEs ในเขตภาคเหนือของประเทศไทย เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้านนา. ค้นเมื่อ 15 มกราคม 2563.
ณัฐวุฒิ วิเศษ (2558) เรื่องปัจจัยในการดำเนินธุรกิจของการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม SME นนทบุรี : วิทยาลัยราชพฤกษ์. ค้นเมื่อ 15 มกราคม 2563. 1264
Abstract: This research main aims to analyse factors that affecting the adjustment of small and medium enterprises at Ying Pao Road, Nakhon Pathom Province, in Thailand 4.0 era. This research was a qualitative based research. Data was collected with an in-depth interview approach. The research sample was 10 key informants which were selected by purposive selection method. Research tools are semi-structure-interview protocols. Data was analysed by content analysis and data organising. The results of study found that the factors affect the adaptation of small and medium enterprise entrepreneurs, where have positive impact adjustment were personnel, modern technology, social network, applications. Though the negative impact of adjustment were money, location, customer groups, outbreak of Covid 19 and economy. According to SWOT analysis, found that the strengths was qualified personnel. The weaknesses was financial liquidity. The opportunities was modern information technology that able to reach customer needs easily and the threat was increasing competition on the market.
งานวิจัยครั้งนี้วัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการปรับตัวของผู้ประกอบการ SME ในพื้นที่ ถนน ยิงเป้า จังหวัดนครปฐม ในยุคไทยแลนด์ 4.0 การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Quantitative Research) ระเบียบ วิธีการวิจัยเป็นการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยกลุ่มตัวอย่างใช้วิธีแบบเจาะจง จำนวน 10 ราย เครื่องมือที่ใช้คือแบบสัมภาษณ์กึ่ง โครงสร้าง (semi-structure-interview protocols) วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) และการ จัดระเบียบข้อมูล (Data Organizing) พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการปรับตัวของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม ที่มีผลกระทบต่อการปรับตัวด้านบวก ได้แก่ บุคลากร เทคโนโลยีที่ทันสมัย โซเชียลเน็ตเวิร์ก และแอพพลิเคชั่น ส่วนผลกระทบที่มีต่อการปรับตัวทางด้านลบ ได้แก่ เงิน ทำเล กลุ่มลูกค้า โรคระบาดโควิด 19 และเศรษฐกิจ จากการวิเคราะห์ SWOT พบว่าจุดแข็งของผู้ประกอบการ SME ได้แก่ บุคลากรที่มีคุณภาพ จุดอ่อน ได้แก่ ด้านการเงินที่หมุนเวียนไม่ทัน โอกาส ได้แก่ เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่มีความทันสมัยเจอะเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้ง่าย และอุปสรรคได้แก่ การแข่งขันทางการตลาดที่เพิ่ม สูงมากขึ้น
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/1023
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.