Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/996
Title: Operational efficiency of the Municipality officers , Office of the Omyai Subdistrict Municipality, Sam Phran District, Nakhon Pathom Province
ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานเทศบาลตำบลอ้อมใหญ่ อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม
Authors: Inpitak, Sivakorn
Jansomboon, Manoon
มนูญ จันทร์สมบูรณ์
ศิวกร อินทร์พิทักษ์
Keywords: Operational efficiency
Municipality officer
Omyai Subdistrict Municipality
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: จันทรานี สงวนนาม. (2536). ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร : บุ๊คพอยท์.
ทิพาวดี เมฆสวรรค์. (2538). การส่งเสริมประสิทธิภาพในระบบราชการ. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ ก.พ. เทศบาลตำบลอ้อมใหญ่. แผนพัฒนาเทศบาลตำบลอ้อมใหญ่. นครปฐม : สำนักปลัดเทศบาล. (อัดสำเนา). เทศบาลตำบลอ้อมใหญ่. สถิติผู้มาใช้บริการเทศบาลตำบลอ้อมใหญ่ พ.ศ. 2560 – 2562. นครปฐม : สำนัก ปลัดเทศบาล. (อัดสำเนา).
เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย. (2540). สถิติเพื่อการวิจัย. พิษนุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ธณัฐพล ชะอุ่ม. (2558). ตัวแบบการบริหารจัดการที่มีผลต่อประสิทธิผลของเทศบาลตำบลในเขตภาคกลางของประเทศ ไทย. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
นราศรี อภิบาลศรี. (2548). ประสิทธิภาพการสอนของครูโรงเรียนเอกชนระดับอาชีวศึกษาจังหวัด จัน ท บุรี. ช ล บุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา.
นิภาพรรณ เจนสันติกุล. (2554). วิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์. นครปฐม : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
บุญชม ศรีสะอาด.(2554) การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่7. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
มาโนช สุขฤกษ์ และคณะ. (2523). จิตวิทยาและอุตสาหกรรม. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒพานิช. ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2553). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ : สุวีริ ยาสาส์น. สถิต คำลาเลี้ยง. (2544). ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของช่างอากาศ: ศึกษาเฉพาะกรณีกองการปืนทหารเรือ. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยรามคำแหง. สมพงษ์ เกษมสิน. (2519). การบริหารงานบุคคลแผนใหม่. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิชย์.
มาโนช สุขฤกษ์ และคณะ. (2523). จิตวิทยาและอุตสาหกรรม. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒพานิช. ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2553). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ : สุวีริ ยาสาส์น.
สถิต คำลาเลี้ยง. (2544). ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของช่างอากาศ: ศึกษาเฉพาะกรณีกองการปืนทหารเรือ. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยรามคำแหง. สมพงษ์ เกษมสิน. (2519). การบริหารงานบุคคลแผนใหม่. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิชย์.
สมยศ นาวีการ. (2540). การบริหารและพฤติกรรมองค์การเรื่องการจูงใจ.จากแนวความคิดไปสู่การประยุกต์ใช้. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์บรรณกิจ. ฤทัยทิพย์ โพธิ์อ่อน. (2550). ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทวิริยะซัพพลายจำกัด. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. วิทยานิพนธ์
กชพร พุทธจักร. (2553). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรในโรงเรียนที่จัดการเรียนการ สอนของนักเรียนพิการ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต.อุบลราชธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. กิตติสัณห์ ชะนะ. (2548). ประสิทธิภาพการบริหารงานของตำรวจภูธรจังหวัดตราดภายใต้การบริหารงานแบบจังหวัด บูรณาการ. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาการบริหารทั่วไป. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ. ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา.
เกตรา ศรีอุดทาภาร. (2548). ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของข้าราชการครู. กรณีศึกษาข้าราชการครูเขตพื้นที่การศึกษา ที่ 2 จังหวัดจันทบุรี. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต,สาขาการบริหารทั่วไป. วิทยาลัยการ บริหารรัฐกิจ. ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา.
ขันติรักษ์ ตันติเฉลิม. (2549). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานบรรเทาสาธารณภัย ของข้าราชการสำนัก โยธาธิการกลาโหม. ปัญหาพิเศษ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ บริหารทั่วไป, วิทยาลัยการบริหาร รัฐกิจ. ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา.
คฑาวุธ พรหมายน. (2545). ประสิทธิภาพในการบริหารงาน. กองตรวจคนเข้าเมือง. ศึกษาเฉพาะกรณีข้าราชการตำรวจฝ่าย1 ฝ่าย2 วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตรัฐศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ครรชิต สลับแสดง. (2540). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพของเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการวางแผนพัฒนาจังหวัดศึกษา เฉพาะกรณีจังหวัดขอนแก่น. ภาคนิพนธ์ศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม. คณะพัฒนาสังคม. กรุงเทพมหานคร : สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์.
ธานินทร์ สุทธิกุญชร. (2543). ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานของฝ่ายการพนักงานบริษัทการบินไทยจำกัด มหาชน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์.บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยรามคำแหง. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
นาตภา ไทยธวัช. (2550). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารทรัพยากรมนุษย์และประสิทธิภาพใน ก า ร ป ฏิ บัติง า น . กรณีศึกษาบริษัท กระจกพีเอ็มเค – เซ็นทรัลจำกัด. วิทยานิพนธ์ปริญญา. เชียงราย : มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
ปิติ วัลยะเพ็ชร์. (2548). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมกิจการพลเรือนทหารเรือ. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาการบริหารทั่วไป. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ. มหาวิทยาลัยบูรพา. ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา.
วัชระ ศิลป์เสวตร์. (2548). ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุนการเรียนการสอนประจำสำนักงาน รองอธิการบดี. ศึกษากรณีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบังวิทยาเขตชุมพร. ปัญหาพิเศษรัฐ ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาการบริหารทั่วไป.วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ.มหาวิทยาลัยบูรพา. ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา.
อรสา โพธิ์ทอง. (2537). ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพัฒนาการอำเภอในฐานะเลขานุการ คณะกรรมการพัฒนา อำเภอ. กรณศึกษาอำเภอในเขตศูนย์ช่วยเหลือทาง วิชาการพัฒนาชุมชน เขตที่7.วิทยานิพนธ์สังคมสงเคราะห์ ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์. ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Abstract: The research aim to: 1) to study the operational efficiency of municipality officer at Omyai Subdistrict Municipality Office; and 2) compare the operational efficiency of municipality officer as classified by personal factors with gender, age, knowledge and skill, working duration, position and experience. The research sample was 388 service recipients derived by proportional stratified random sampling as distributed by description of job services. Research instruments was a questionnaire constructed by the researcher. Data were analyzed with frequency, percentage, mean, standard deviation, the t-test statistic and one - way analysis of variance. The research found that: 1. The overall operational efficiency of the officers was in high level, while each aspect consisted of cost efficiency, quality efficiency, workload efficiency, and service efficiency were in high level. 2. The municipality officer with differences in gender, position had different operational efficiency with statistical significance level at .05, whereas there were no differences in those as classified by age, knowledge and skill, working duration and experience.
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานเทศบาลตำบลอ้อมใหญ่ 2) เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ความรู้ความชำนาญ ระยะเวลาการปฏิบัติงาน ตำแหน่ง ประสบการณ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ประชาชนที่มาใช้บริการของเทศบาล ตำบลอ้อมใหญ่ อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม จำนวน 388 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นตามสัดส่วนกระจายตาม ลักษณะงานที่ให้บริการ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นจากการศึกษาแนวคิดและทฤษฎีและใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปในการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t-test ค่าความแปรปรวนทางเดียว F-test (One Way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1. ระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานเทศบาลตำบลอ้อมใหญ่ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก ประกอบด้วย ประสิทธิภาพในด้านต้นทุน ประสิทธิภาพในด้านคุณภาพ ประสิทธิภาพในด้านปริมาณงาน และประสิทธิภาพในด้านการ ให้บริการ 2. พนักงานเทศบาลที่มี เพศ ตำแหน่ง ต่างกัน มีประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ส่วนพนักงานที่มีอายุ ความรู้ความชำนาญ ระยะเวลาการปฏิบัติงาน และประสบการณ์ ต่างกัน มีประสิทธิภาพ การปฏิบัติงาน ไม่แตกต่างกัน
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/996
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.