Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/945
Title: SATISFACTION OF ENTREPRENEURS TOWARD SERVICE QUALITY OF DEPARTMENT OF INDUSTRIAL PROMOTION, MINISTRY OF INDUSTRY
ความพึงพอใจของผู้ประกอบการที่มีต่อคุณภาพการบริการ ของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
Authors: Yutthakarn Pramuansin
Chuenjit Changchenkit
ยุทธการ ประมวลศิลป์
ชื่นจิตต์ แจ้งเจนกิจ
Keywords: Satisfaction
Quality of Service
Department of Industrial Promotion.
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2563). เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร กสอ. ครั้งที่ 59-3/2563 (วันที่ 9 มกราคม 2563).
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2550). การวิเคราะห์สถิติ: สถิติเพื่อการตัดสินใจ (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: ธรรมสาร. ฉัตรชฎา วิศพันธุ์. (2560). ความสำคัญของส่วนประสมการตลาตบริการที่มีต่อพฤติกรรมการใช้บริการสหกรณ์การเกษตร เกาะงุน-กะทิง จำกัดของเกษตรกรในอำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการ จัดการธุรกิจ, มหาวิทยาลัยทักษิณ.
ชมพูนุช ตันพานิชและคณะ.(2555). รายงานการวิจัยเรื่อง การพัฒนาการให้บริการของสำนักส่งเสริมวิซาการและงาน ทะเบียน. กรุงเทพฯ: ส านักส่งเส้มวิชาการและงานทะเบียนมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.
นรากร รุจินันทพรกุล. (2557). ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อการรับรู้ระดับคุณภาพการให้บริการของผู้ใช้บริการศูนย์บริการ ร่วมกระทรวงแรงงาน : กรณีศึกษาจังหวัดลำปาง การศึกษาค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิซาการ จัดการทั่วไป, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
Kotler, Philip., and Keller, Kevin Lean. (2016). Marketing Management. Global Edition 15e. London: Pearson Education Limited. Parasuraran, Zeithaml, and Berry. (2013). A Conceptual Model of Service Quality and Its Implications for Future Research. Journal of Marketing, Fall.
Shelley, Maynard W. (1975). Responding to Social Change. Pennsylvania : Dowden, Hutchison.
Abstract: The objectives of this study were to study entrepreneurs' satisfaction with service quality provided by the Department of Industrial Promotion, to study entrepreneurs' satisfaction with service quality provided by the Department of Industrial Promotion, classified by personal factors, to study entrepreneurs' behavior of using the service provided by the Department of Industrial Promotion, and to study entrepreneurs' behavior of using the service provided by the Department of Industrial Promotion, classifed by persondl factors. The sample of this study was 398 service users of the Department of Industrial Promotion. This study used a quantitative research method. A questionnaire was used as a research instrument. Data collected were then analyzed using statistics, including frequency, percentage, mean, standard deviation, t - test, F-test The results of this study indicated that overall satisfaction of the respondents with the service quality provided by the Department of Industrial Promotion was at a high level. The respondents with different educational level had different satisfaction with the service quality provided by the Department of Industrial Promotion in terms of Assurance with a statistical significance level of .05. In terms of behavior of using the service provided by the Department of Industrial Promotion, most of them were Entrepreneurs; the purpose of using the service was to ask for advice to develop and expand the market as well as products and innovative products. The respondents had the needs for taking business training / seminar. Exposure to information was through service recipients coming to contact the Department of Industrial Promotion by themselves. The most influential person for taking the service was oneself. The respondents made their decision to receive counseling services immediately when new projects have been known. The respondents with different personal factors, namely gender, age, type of business, position, business model had different behavior of using the service provided by the Department of Industrial Promotion with a statistical significance level of .05.
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความฟังพอใจของผู้ประกอบการที่มีต่อคุณภาพการบริการของกรม ส่งเสริมอุตสาหกรรม เพื่อศึกษาความฟังพอใจของผู้ประกอบการที่มีต่อคุณภาพการบริการของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้บริการของผู้ประกอบการที่มีต่อกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม และเพื่อ ศึกษาพฤติกรรมการใช้บริการของผู้ประกอบการที่มีต่อกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมจำแนกตามลักษณะส่วนบุคคลในการศึกษา ครั้งนี้ ผู้ใช้บริการกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม จำนวน 398 คน วิธีวิจัยเชิงปริมาณตยใช้ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูลคือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่เปียงเบนมาตรฐาน t - test F-test ผลการศึกษาพบว่า ความพึงพอใจของผู้ประกอบการ ภาพรวมมีค่เฉลี่ยอยู่ระดับมาก และปัจจัยลักษณะส่วน บุคคล ค้านระดับการศึกษา ที่แตกต่างกัน มีผลต่อความพึงพอใจของผู้ประกอบการในการรับบริการของกรมส่งเสริม อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ในด้านการให้ความรู้สึก เชื่อมั่น (Assurance) ที่แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 05 พฤติกรรมการใช้บริการของผู้ประกอบการที่มีต่อกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม พบว่า ส่วนใหญ่สถานภาพทางธุรกิจ เป็น ผู้ประกอบการ วัดถุประสงค์ที่เข้ารับบริการปรึกษาแนะนำเพื่อพัฒนาธุรกิจขยายตลาด วัตถุประสงค์ที่เข้ารับบริการปรึกษา แนะนำเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์พัฒนาผลิตภัณฑ์เชิงนวัดกรรม ความต้องการที่เข้ารับบริการ ฝึกอบรม/สัมมนาเชื่อมโยงธุรกิจ การ ทราบถึงแหล่งข่าวโครงการกิจกรรมผู้รับบริการเข้ามาติดต่อที่หน่วยงานด้วยตัวเอง บุคคลที่มีอิทธิพสมากที่สุดในการเข้ารับ บริการปรึกษาแนะนำตนเอง และการตัดสินใจเข้ารับบริการปรึกษาแนะนำตัดสินใจทันที่เมื่อทราบถึงโครงการใหม่ และปัจจัย ลักษณะส่วนบุคคล ด้านเพศ อายุ ประเภทธุรกิจ ตำแหน่งหน้าที่ รูปแบบธุรกิจที่แตกต่างกัน มีผลต่อพฤติกรรมการใช้บริการ ของผู้ประกอบการที่มีต่อกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ . 05
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/945
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.