Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/939
Title: The Satisfaction of Teachers towards the Academic Administration Of School Under Bangkok BangnaDistrict Office ,Bangkok
ความพึงพอใจของครูที่มีต่อการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนสังกัดรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตบางนา สังกัดกรุงเทพมหานคร
Authors: phuenchompoo, Yupin
Thongprong, Amnuay
ยุพิน พื้นชมกู
อำนวย ทองโปร่ง
Keywords: academic administration
faculty
school administrators
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 (ฉบับที่ 2) และที่แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2545. กรุงเทพฯ: บริษัทสยามสปอร์ต ชินติเคท จำกัต
กัลยาณี ลำดับศรีและรัตนา กาญจนพันธุ์. (2562). ความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารงานวิชาการของ ผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์ศึกษา ศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง
จันทรานี สงวนนาม. (2553). ทฤษฎีและแนวทางปฏิบัติในการบริทารสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร: บุ๊คพอยท์ รุ่งรัชตาพร เวทะชาติ. (253) การบริทารงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์หนังสือ มหาวิทยาลัยทักษิณ.
วรรณนภัส พิทักษ์ชานิธิกุล. (2560). ความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขนาค ใหญ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 2. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต! มหาวิทยาลัยรามคำแหง
สายนภา ตาวแสง. (2559 ) ความพึงพอใจของครูต่อการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนสังกัดสำนัก การศึกษา เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี.วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต: มหาวิทยาลัยบูรพา
Abstract: The purpose of this research was to study and compare the satisfaction of teachers towards the academic administration of school administrators in the schools under the Bangkok Metropolitan Administration. Bang Na District Office Bangkok Classified by educational level And work experience The sample group used in this study is Teachers in schools under the Bangkok Metropolis Bang Na District Office Bangkok 183 people selected in the academic year 2019, selected by stratified random sampling by using the school as a class and comparing the practices to determine the number of respondents in each school The instrument used in the research was a 5 level rating scale questionnaire. The content validity was 0.60 -1.00. The reliability was .9 1 3 The statistics used in this research were Frequency distribution, percentage, mean, standard deviation T-test And one way analysis of variance When the differences were found, the tests were conducted in pairs according to the Scheffé method (Scheffé’s posthoc comparison). The results showed that 1) the satisfaction of teachers towards the academic administration of the school administrators in the Bangkok Metropolitan Administration. Bang Na District Office Bangkok The overall picture is in the high level in all aspects. 2) Teachers with different educational levels and experiences in working. There is satisfaction with the academic administration of school administrators under the Bangkok Mahachakhon school. Bang Na District Office Bangkok The overall picture is different and considered in each aspect found that the development of learning process Curriculum development in educational institutions And educational supervision There are differences As for the evaluation, evaluation and transfer of grades No difference
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความพึงพอใจของครูที่มีต่อการบริหารงานวิชาการของ ผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตบางนา กรุงเทพมหานคร จำแนกตามระดับการศึกษา และ ประสบการณ์ในการปฏิบัติงน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ ครูโนโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขต บางนา กรุงเทพมหานคร ประจำปีการศึกษา 2562 จำนวน 183 คน คัดเลือกโดยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นโดยใช้โรงเรียน เป็นชั้นแล้วเทียบปัญญัติตรยางศ์เพื่อกำหนดจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามในแต่ละโรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น แบบสอบถามมาดราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ หาคำความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 0.80 -1.00 ค่ความเชื่อมั่นเท่ากับ . 913 สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ กรแจกแจงความถี่ คำร้อยละ ค่าเลี่ย ส่วนเปียงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียว เมื่อพบความแตกต่างจึงทำการทดสอบเป็นรายคู่ตามวิธีของ Schefe (Scheffe's posthoc comparison) ผลการวิจัยพบว่า 1 ความพึงพอใจของครูที่มีต่อการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตบางนา กรุงทพมหานคร โคยภาพรวมอยู่ในระดับมากทุกค้าน 2) ครูที่มีระดับการศึกษา และมีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานต่างกัน มีความพึ่งพอใจต่อการบริหารงานริชาการของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนสังกัด กรุงเทพมหาคร สำนังานเขตบางนา กรุงเทพมหานค โดยภาพรวมมีความแตกต่งกันและพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการพัฒนากระบวนการเรียน ด้านการพัฒนาหลักสูตรในสถานศึกษา และด้านนิเทศการศึกษา มีความแตกต่างกัน ส่วนด้านการวัดผล ประเมินผล และดำเนินการเที่ยบโอนผลการเรียน ไม่มีความแตกต่างกัน
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/939
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.