Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/938
Title: Teachers’ Opinions Towards the Internal Supervision of School Administrators Under the Jurisdiction of the Bangbon District Office, Bangkok Metropolis.
ความพึงพอใจของครูที่มีต่อการส่งเสริมงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ในกลุ่มสหวิทยาเขตปลันดา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13
Authors: Ngernsomtong, Ratcharaporn
Thongprong, Amnuay
รัชราภรณ์ เงินสมทอง
อำนวย ทองโปร่ง
Keywords: Supporting on Academic Administration
school administrator
Satisfaction
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: ______. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542 ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ.2545 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).
กนกวรรณ ไชยเดช. (2558). ความพึงพอใจของครูที่มีต่อการบริหารงานของผู้บริหาร โรงเรียนกลุ่ม เครือข่ายที่ 50 สำนักงาน เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
กัลยา สวยงาม. (2558). การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษาเขต 36 (กลุ่มย่อยที่ 6 จังหวัดพะเยา). งานสารนิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการ บริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยพะเยา.
เขมทอง จรรยาเลิศ. (2559). ความพึงพอใจของครูผู้สอนที่มีต่อการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนในสหวิทยาเขต 8 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานี. เข็มทอง ศิริแสงเลิศ. (2555). การจัดและบริหารองค์การทางการศึกษา. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. จันทร์สุดา โพธิ์จารย์. (2559,บทคดย่อ). ความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ในกลุ่ม โรงเรียนอำเภอบางไทร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 2. วิทยานิพนธ์ศึกษา ศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ภัทรกร มิ่งขวัญ. (2559). การศึกษาความพึงพอใจของครูที่มีต่อการบริหารงานโรงเรียนขนาดเล็กจังหวัดนครสวรรค์ สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42. งานสารนิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
ฟุรกอน สะแลแม. (2556). ความพงึ พอใจของครูผส้ อนในการบริหารงานวิชาการโรงเรียนในกล่มบันนังสตา จังหวัดยะลา สังกัดสำนักงานเขตพื้นทการศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 2. สารนิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยปทุมธานี.
ลัดดา ไวใจ. (2558). ความพึงพอใจของครูต่อการบริหารจัดการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนกลุ่มโรงเรียนศรีราชา 1 สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3. งานนิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา, มหาวิทยาลัยบูรพา.
สายนภา แสงดาว. (2559). ความพึงพอใจของครูต่อการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนสังกัดสำนัก การศึกษา เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี.งานนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.
Abstract: This research aimed to study and compare Satisfaction of Teachers Supporting on Academic Administration by Administrators of School in Bhalanda School Group under the Secondary Educational Service Area Office 13. Classified by educational background and work experience.The samples were 151 teachers, by Cohen, Manion and Morrison’s table. Statistics were percentage, mean, standard deviation, t-test and F-test. Findings are as follows: 1) The Satisfaction of Teachers Supporting on Academic Administration by Administrators was overall at a high level. 2) Teachers’ satisfaction who differed in educational level in their opinions in overall and all aspects evince did not differences, except for the development of the learning process Different with statistical significance at the level of .05 3) The teachers who differed in work experience, the Satisfaction of Teachers in overall and all aspects evince did not differences, except for media development And learning resources there is a statistically significant difference at the .05 level and the average score in pairs is tested by the Sheffe method.
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาและเปรียบเทียบความพึงพอใจของครูที่มีต่อการส่งเสริมงานวิชาการของ ผู้บริหารสถานศึกษา ในกลุ่มสหวิทยาเขตปลันดา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13 โดยจำแนกตามวุฒิ ทางการศึกษาและประสบการณ์การทำงาน โดยเปิดตาราง Cohen ได้ 151 คน แล้วสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิเครื่องมือที่ใช้ในการ วิจัย คือ แบบสอบถาม ค่าความเชื่อมั่น 0.953 สถิติที่ใช้ คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่า SD ค่าที และการวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียว) ผลการวิจัยพบว่า 1) ความพึงพอใจของครูที่มีต่อการส่งเสริมงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ในกลุ่มสหวิทยาเขตปลันดา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) ครูที่มีวุฒิทางการศึกษาต่างกันมีความพึงพอใจต่อการส่งเสริมงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ในกลุ่มสหวิทยาเขต ปลันดา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13 โดย ภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน ยกเว้น ยกเว้นด้าน การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ครูที่มีประสบการณ์การทำงานต่างกันมี ความพึงพอใจต่อการส่งเสริมงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ในกลุ่มสหวิทยาเขตปลันดา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13 โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน ยกเว้นด้านการพัฒนาสื่อ และแหล่งการเรียนรู้ มีความ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และนำมาหาคะแนนเฉลี่ยเป็นรายคู่ไปทำการทดสอบโดยวิธีเชฟเฟ่ พบว่า ครู ที่มีประสบการณ์ในการทำงาน 5-10 ปี มีความพึงพอใจด้านการพัฒนาสื่อ และแหล่งการเรียนรู้มากกว่าครูที่มีประสบการณ์ใน การทำงาน มากกว่า ประสบการณ์การทำงานต่ำกว่า 5 ปี
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/938
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.