Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/917
Title: The Development of Skills Practices in website creation with Google Sites of Science Learning Strand for the 7th grade students, Tessaban 1 KittiKachorn School
Authors: Nanthawong, Sirikhuan
ศิริขวัญ นันทวงษ์
Keywords: Skills practice
website creation
Google Sites
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (ฉบับที่ 2) และที่แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2545. กรุงเทพฯ :บริษัทสยามสปอร์ต ซินดิเค จำกัด.
_______. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2553 (ฉบับที่ 3). กรุงเทพฯ : บริษัทสยามสปอร์ต ซินดิเค จำกัด.
จินตนา ใบกาซูยี. (2534). การจัดทำหนังสือสำหรับเด็ก. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
ถวัลย์ มาศจรัส และคณะ. (2550). นวัตกรรมการศึกษา ชุดแบบฝึกหัด-แบบฝึกเสริมทักษะ. กรุงเทพมหานคร: เซ็นจูรี่. .
บัญชา มีหินกอง. (2560). การพัฒนาแบบฝึกทักษะวิชาเทคโนโลยี เรื่อง การใช้โปรแกรม Microsoft office PowerPoint 2016 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. ผลงานทางวิชาการ. โรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี สำนักการศึกษา เทศบาลนคร อุดรธานี
พัชรสุดา อ่างมณี. (2558). แบบฝึกทักษะการเขียนโปรแกรมภาษาซีชาร์ปด้วยโปรแกรม SharpDevelop รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร5 รหัสวิชา ง23102 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนกันทรารมณ์. ผลงานวิชาการ. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28. ศรีสะเกษ.
โรงเรียนเทศบาล 1 กิตติขจร. (2560). รายงานการประเมินตนเอง โรงเรียนเทศบาล 1 กิตติขจร ประจำปีการศึกษา 2560. สังกัดกองการศึกษาเทศบาลเมืองตาก.
สงบ ลักษณะ. (2536). แนวการทำแผนการสอน. กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
สมศักดิ์ สินธุระเวชญ์. (2540). เอกสารทางวิชาการพัฒนากระบวนการเรียนการสอน เอกสารลำดับที่ 33. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
สิทธิพงษ์ ไกรลาศ. (2558). การพัฒนาแบบฝึกทักษะการเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 5 โรงเรียนสตรีระนอง. ผลงานวิชาการ. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 14. ระนอง.
สุนันทา สุนทรประเสริฐ.(2544). การสร้างแบบฝึก. เอกสารประกอบชุดปฏิรูปการเรียนรู้ของครู ตามพ.ร.บ.การศึกษา แห่งชาติ.
Best, John W. and Kahn, James V. (1986). Research in Education. 5 th ed. New Jersey. Prentice-Hall.
Billow, F.L. (1962). The Techniques of Language Teaching. London: Longman Group Ltd.
Patty, Green.(1968). Language Workbook and Practices Material; Developing Language Skills in the Elementary School. New York: Allyn and Bacon
Abstract: The objectives of this research were to 1) develop the skills practices in website creation with Google Sites of Science Learning Strand for the 7th grade students. 2) compare the students' learning achievements and 3) study the students' opinions on skills practices. The subject of this study was selected from students in 7th grade consisted of 30 students by using simple random sampling method. The research instruments consisted of the skills practices on website creation with Google Sites, Pre-test and Post-test items and questionnaires. The statistics employed were efficiency, mean, standard deviation and t-test. The results of this study revealed that 1) all 4 units of skills practices were efficient at 80.35/81.94, 80.06/81.61, 80.15/81.29 and 81.89/82.26 respectively in accordance with the Criterion (80/80). 2) all units of students' learning achievements gained after learning through skills practices were significantly higher than those of before at .05 statistical level and 3) The students' opinions on the 4 units of skills practices were highly positive.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google Sites กลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน และ 3) ศึกษา ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกทักษะ กลุ่มตัวอย่างงานวิจัยในครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 30 คน ซึ่งใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google Sites แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน และแบบสอบถามความคิดเห็น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ, ค่าเฉลี่ย,ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) แบบฝึกทักษะที่สร้างขึ้นทั้ง 4 หน่วย มีประสิทธิภาพ 80.35/81.94, 80.06/81.61, 80.15/81.29 และ 81.89/82.26 ตามลำดับ เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด (80/80) 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยแบบฝึกทักษะคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทุกหน่วย และ 3) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อแบบฝึกทักษะในระดับเห็นด้วยมาก
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/917
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.