Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/916
Title: The Development of Online Lesson by Using Cartoon with Discovery Method on MSW LOGO Programs.
Authors: Srichailard, Panuwat
pabsuwan, Thongchai
ธงชัย ภาพสุวรรณ
ภานุวัฒน์ ศรีไชยเลิศ
Keywords: web-based
Cartoon
Discovery medhod
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: กิดานันท์มลิทอง. (2543). เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพ:จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
เณศ์รัญญกาณฐ์ ปามุทาชาววาปี และคณะ (2558) ผลการเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ประกอบสื่อการ์ตูน กลุ่มสาระการ เรียนรู้ สังคมศึกษา เรื่อง เมืองตักสิลานคร เพื่อส่งเสริมจิตสำนึกอนุรักษ์บ้านเกิด สำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 กับการเรียนแบบปกติ. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคามปีที่ 21 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2558.
ดาวรถา วีระพันธ์ และณัฐรดี อนุพงค์. (2560).การพัฒนาสื่อการเรียนรู้การ์ตูนมัลติมีเดีย 2 มิติ เรื่อง อยู่อย่างพอเพียง ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต. มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2560.
มนต์ชัย เที่ยนทอง. (2556). นวัตกรรม: การเรียนและการสอนด้วยคอมพิวเตอร์. กรุงเทพ: บริษัทแกเน็กซ์อินเตอร์ คอร์ปอเรชัน จำกัด.
วิลาสินี วัฒนมงคล (2561). วิกฤตการศึกษาไทยในยุค 4.0. วารสาร “ศึกษาศาสตร์ มมร” คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหามกุฏราชวิทยาลัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2561.
สิริวรรณ ยะไชยศรี.(2558).รูปแบบการ์ตูนแอนิเมชั่น 2 มิติ เพื่อการเรียนรู้ด้านการมีวินัยสำหรับเด็กปฐมวัยวารสาร บัณฑิตศึกษา. ปีที่ 12 ฉบับที่ 57 เมษายน-มิถุนายน 2558.
สังเขต นาคไพจิตร. (2530). การ์ตูน. มหาสารคาม:โรงพิมพ์ปรีดาการพิมพ์.
อุไรวรรณ์ รักผกาวงศ์. (2555). การพัฒนาสื่อการสอนออนไลน์วิชาการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และ อัลกอลิทึ่ม. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. พิษณุโลก.
The department of research administration and educational insurance. (2016). Thailand 4.0 model to prosper country to. “stability, prosperity, and sustainability”. Retrieved Jan 14, 2018, from http://www.libarts.up.ac.th/v2/img/Thailand-4.0.pdf [in Thai]
Abstract: The purpose of the study were 1) to develop of online lesson by using cartoon with discovery method on MSW LOGO programs. 2 ) to evaluate the effectiveness of the developed. 3) to comparea student’s learning achievement result after using the develop. 4) to study student’s satisfaction towards using the developed. The sample group used in this research were of student grade 7 anubansuphanburi school. using a simple random sampling method. Tools used in this research were: 1) Online lesson by using cartoon with discovery Method. 2 ) Learning activities plan. 3 ) the learning achievement test. 4)questionnaires for student’s satisfaction. The results were as follows: 1) The effectiveness of online lesson by using cartoon with discovery Method was 83.88/ 80.62 2) The learning achievement was statistically significant higher ( = 24.19, S.D.= 3.86) than before ( = 18.70, S.D.= 5.53) learning at 0.05 3) The student’s satisfaction towards using the develop was highest level ( = 4.76, S.D.= 0.49)
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาบทเรียนผ่านเว็บแบบการ์ตูนร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ เรื่องการใช้ โปรแกรม MSW LOGO 2) ศึกษาประสิทธิภาพของการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนผ่านเว็บแบบการ์ตูนร่วมกับการจัดการเรียนรู้ แบบค้นพบที่พัฒนาขึ้น 3) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนผ่านเว็บ แบบการ์ตูนร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบที่พัฒนาขึ้น 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนผ่านเว็บแบบ การ์ตูนร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบที่พัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลสุพรรณบุรี ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 43 คน โดนใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) บทเรียน ผ่านเว็บแบบการ์ตูนร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบที่พัฒนาขึ้น 2) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3) แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนผ่านเว็บแบบการ์ตูนร่วมกับการจัดการ เรียนรู้แบบค้นพบที่พัฒนาขึ้น ผลการวิจัยพบว่า 1) บทเรียนผ่านเว็บแบบการ์ตูนร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพที่ 83.88/80.62 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไวที่80/80 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน หลังเรียน ( = 24.19, S.D.= 3.86) สูงกว่าก่อนเรียน ( = 18.70, S.D.= 5.53) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบที่พัฒนาขึ้นอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด โดยมีผลคะแนน ( = 4.76, S.D.= 0.49 )
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/916
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.