Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/904
Title: The Development of Website for Learning with Jigsaw Learning about Using of Information Technology Safely for Grade 7 Students
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อการเรียนรู้ร่วมกับการเรียนรู้แบบจิ๊กซอว์ เรื่อง การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศอย่างปลอดภัย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
Authors: Wedchasan, Thanapon
Youngkom, Thanaporn
Poonsaward, Akarapon
ธนพล เวชสาร
ธนภรณ์ ยวงคำ
อัครพล พูลสวัสดิ์
Keywords: Learning Website
Jigsaw Learning
Using of Information Technology Safely
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: เขมวันต์ กระดังงา. (2554). ผลการเรียนด้วยกระบวนการกลุ่มร่วมกับเว็บสนับสนุนการเรียนที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม วิชาการพัฒนาเว็บไซต์เบื้องต้น นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. Veridian E-Journal กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 5 (2), 521-537.
ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2544). การสอนบนเว็บ (Web-based Instruction) นวัตกรรมเพื่อคุณภาพการเรียนการสอน. วารสารศึกษาศาสตร์สาร, 28 (1), 87-94.
ทิศนา แขมมณี. (2561). ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปิยนันท์ ปานนิ่ม. (2559). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บแบบผสมผสานด้วยการเรียนการสอนแบบร่วมมือ. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 11 (2), 121-129.
ปิยะนันท์ บุญโพธิ์ และเพชรรัตน์ จงนิมิตสถาพร. (2562). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการทำงานกลุ่ม โดยใช้ การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ด้วยเทคนิค JIGSAW กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายประถมศึกษา (ศึกษาศาสตร์). วารสาร ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 42 (2), 65-71.
พัชราภรณ์ วรโชติกำจร และฐะณุพงศ์ ศรีกาฬสินธุ์. (2558). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต : ระบบการจัดการฐานข้อมูล. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 3 (1), 51-66.
มนชิดา ภูมิพยัคฆ์, ทวี สระน้ำคำ, ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2560). “การพัฒนารูปแบบการเรียนบนเว็บแบบผสมผสานด้วย เทคนิคการเรียนร่วมกันเพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ”. วารสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด, 11 (1), 38-47.
ลัดดาวรรณ ศรีฉิม และบัญชา สำรวยรื่น. (2559). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บ ด้วยโปรแกรม Google Site ตาม แนวทฤษฎีสร้างสรรค์ความรู้ เรื่อง หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วารสาร มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 10 (1), 129-144.
วิภาวรรณ ใหญ่สมบูรณ์ และวชิระ อินทร์อุดม. (2554). ผลของการสอนบนเว็บที่มีต่อการพัฒนาการคิดวิเคราะห์สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 5 (2), 107-112.
วีระ ไทยพานิช. (2551). การเรียนการสอนบนเว็บ. วารสารวิจัยรามคำแหง, 11 (2), 53-64.
วีระพน ภานุรักษ์, จรัญ เจิมแหล่. (2559). ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิคแบบจิ๊กซอว์ในรายวิชา การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2. การประชุมวิชาการระดับชาติการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 2, 142-150.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.
Ab Murat, N. B. (2018). Learning through teaching and sharing in the jigsaw classroom. Annals of Dentistry University of Malaya, 15 (2), 71-76.
Slavin, R. E. (1990). Cooperative learning: Theory, research, and practice. Prentice-Hall,.
Abstract: The purposes of this research study were to 1) develop learning website about using of information technology safely 2) compare student’s learning achievement between before and after learning and 3) study student’s satisfaction. The target group consisted of 34 students for grade 7 students, selected by purposive sampling. The research tools consisted of the learning management plan, learning achievement test and satisfaction questionnaire. The statistics in data analysis were mean, standard deviation and the t-test independent. The result of this research were as follows: 1) the website for learning which has developed has a high quality 2) student’s learning achievement gained higher scores than before learning with the statistical significance at .05 level and 3) satisfaction of students toward learning by using learning website together with jigsaw learning were highest level
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาเว็บไซต์เพื่อการเรียนรู้ เรื่อง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยการเรียนด้วยเว็บไซต์เพื่อการเรียนรู้ร่วมกับการเรียนแบบ จิ๊กซอว์ และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยเว็บไซต์เพื่อการเรียนรู้ กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 34 คน โดยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถามวัดความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า 1) เว็บไซต์เพื่อการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นมีคุณภาพอยู่ในระดับมาก 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 และ 3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อ การเรียนการสอนโดยสื่อเว็บไซต์เพื่อการเรียนรู้ร่วมกับการเรียนรู้แบบจิ๊กซอว์อยู่ในระดับมากที่สุด
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/904
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.