Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/879
Title: The study of legal consistency with the Internet of Things service and usage.
Authors: Chokbamrung, Narathip
Tuprakay, Seree
Srithammasak, Boonchuay
Harnphanich, Boontham
นราทิพย์ โชคบำรุง
บุญช่วย ศรีธรรมศักดิ์
บุญธรรม หาญพาณิชย์
Keywords: Internet of Thing
IoT, relevant laws
IoT service provider
IoT users
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: เสรีย์ ตู้ประกาย
ประวิทย์ ลี่สถาพรวงศา. (2560). เตรียมการอย่างไรเพื่อรับมือ Internet of Things (IoT). NBTC Journal, 2, 24-33.
Ahmed Abobakr and Marianne A. Azer. (2017). IoT ethics challenges and legal issues. In 2017 12th International Conference on Computer Engineering and Systems (ICCES) (pp. 233-237). IEEE.
Ebraheim Alsaadi and Abdallah Tubaishat. (2015). Internet of things: features, challenges, and vulnerabilities. International Journal of Advanced Computer Science and Information Technology, 4(1), 1-13
Ritesh Mehta. (2017). How the IoT will explode at 2020. Available from: https://customerthink.com/how-the-iot-willexplode- at-2020/.
Abstract: This article presented the study on legal consistency with service and Internet of things (IoT) of the service providers and IoT users with relating laws to study the service consistency of IoT service provider and NBTC’s announcement as well as the IoT usage consistency with the Cybersecurity Act, B.E. 2562 (2019) to arrange the law guidance for the protection of service providers and users. The results of the study on service providers found that 1) IoT service was in accordance with laws in term of IoT equipment connection. 2) The use of IoT service which was the unlicensed band requiring wave crashing protection which was not in accordance with the increasing amount of IoT usage in the present. 3) The complicated license request (several licenses were required to provide the service) might affect the business competition in small entrepreneurs. In terms of users found that 1) the Cybersecurity Act, B.E. 2562 (2019) focused on the measure of prevention, handling and reducing risk from cyber threat. 2) Personal Data Protection Act, B.E. 2562 (2019) focused on protection of personal data from service provider or personal data supervising officer not to be leaked which was able to lead to personal identification both direct and indirect was in accordance with IoT as the usage needed all-time data sending and receiving.
บทความนี้นำเสนอการศึกษาความสอดคล้องของกฎหมายกับการให้บริการและการใช้งานอินเทอร์เน็ต ประสานสรรพสิ่งหรือไอโอที (Internet of Things : IoT) ของผู้ให้บริการและผู้ใช้งานไอโอทีกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อศึกษาความสอดคล้องด้านการให้บริการของผู้ให้บริการไอโอทีกับประกาศ กสทช. และความสอดคล้องด้านการใช้งาน ไอโอทีกับ พ.ร.บ. การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. 2562 และ พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 และ จัดทำข้อเสนอแนะด้านกฎหมายให้มีความครอบคลุมทั้งผู้ให้บริการและผู้ใช้งาน โดยผลการศึกษาในด้านของผู้ให้บริการพบว่า 1) การให้บริการไอโอทีมีความสอดคล้องกับกฎหมายในด้านการเชื่อมต่ออุปกรณ์ไอโอที 2) การใช้คลื่นในการให้บริการไอโอที เป็นคลื่นที่ไม่ต้องได้รับอนุญาตให้ใช้คลื่น (unlicensed band) จะไม่มีการป้องกันการรบกวนระหว่างกันของคลื่น ซึ่งจะไม่ สอดคล้องกับปริมานการใช้งานไอโอทีที่เพิ่มขึ้นในปัจจุบัน 3) การขอใบอนุญาตประกอบกิจการที่มีความซับซ้อน (จะต้องมีการ ขอใบอนุญาตหลายใบในการให้บริการ) อาจส่งผลกระทบต่อการแข่งขันทางธุรกิจแก่ผู้ประกอบการรายเล็กได้ และในด้าน ผู้ใช้งานพบว่า 1) พ.ร.บ. การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. 2562 ที่เน้นการกำหนดมาตรการเพื่อป้องกัน รับมือ และลดความเสี่ยงจากภัยคุกคามทางไซเบอร์ 2) พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ที่เน้นการคุ้มครองข้อมูล ส่วนบุคคลจากผู้ให้บริการหรือเจ้าหน้าที่ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล ไม่ให้มีการรั่วไหลซึ่งจะเป็นการนำไปสู่การระบุตัวบุคคลได้ ทั้งทางตรงหรือทางอ้อม มีความสอดคล้องกับการใช้งานไอโอทีเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากการใช้งานไอโอทีจำเป็นจะต้องมี การรับ-ส่งข้อมูลอยู่ตลอดเวลา
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/879
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.