Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/871
Title: Development PM2.5 Dust Monitoring System on Cloud with PMS7003
Authors: Rattananimit, Waris
วริศร์ รัตนนิมิตร
Keywords: Air pollution
PM2.5, cloud
Issue Date: 9-Jul-2020
Publisher: Nakhon Pathom Rajabhat University
Citation: [1] ศิลป์ณรง ฉวีพัน์ และ พรนรินทร์ สายกลิ่น (2019) การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี Narrow Band Internet of Thing ในการ สร้างต้นแบบสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ ภายในมหาวิทยาลัยราชภัฎกำแพงเพชร. ประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 5 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎกำแพงเพชร, 259-270.
[2] ฐิฏาพร สุภาษี ,พานิช อินต๊ะ, เสริมเกียรติ จอมจันทร์ยอง และเศรษฐ์ สัมภัตตะกุล (2018) การวิเคราะห์ปริมาณฝุ่นละออง เชิงมวล PM2.5 และ PM10 ในบรรยากาศด้วยเครื่อง ตรวจวัดฝุ่นละอองไร้สายในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศ ไทย.วารสารวิจัยเทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนา ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2561, 69-83
[3] Nuttapun Nakpong and Nopphagaw Thongbai (2018) Air Pollution Monitoring and Alarming System via Internet of Things ,MAHASARAKHAM INTERNATIONAL JOURNAL OF ENGINEERING TECHNOLOGY, VOL. 5, NO. 2, JULY-DECEMBER 2019, 65-69.
[4] พานิช อินต๊ะ, เศรษฐ์สัมภัตตะกุล สมพร จันทระ และ พีระพงศ์ทีฆสกุล (2017) ต้นแบบสถานีตรวจวัดฝุ่นละอองลอยใน อากาศแบบออนไลน์ต้นทุนต่ำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา. ค้นเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2563 จาก https://kaewpanya.rmutl.ac.th/cttc/jses/upload/1537760458_0.pdf
[5] Titaporn Supasri (2018) Monitoring and Evaluation of PM2.5/10 in Chiang Mai Province by DustBoy Sensors. ,ค้นเมื่อ 12 กุภาพันธ์ 2563 จาก https://www.researchgate.net/publication/326892813_Monitoring_and_Evaluation_of_PM2510_in_Chiang_Mai_Province_by_DustBoy_Sensors
[6] M.Sowmya,Y.Harshitha, S.S.Nivetha AIR (2018) (PM2.5 & PM10) Monitoring and Control in Tunnel Using Iot. 2018 JETIR December 2018, Volume 5, Issue 12, 31-34.
Abstract: This study was conducted to develop the Cloud Computing model for Air Pollution database using a wireless sensor system for continuous monitoring of particulate air pollution (PM2.5 ). The study focused on Thapa junction Thonburi Western District of Bangkok. We were reporting the data through an online reporting system based on website in order to be accessed the information of air pollution situation more quickly and comprehensively. The Study result showd xxx was able to send PM2.5 data on Cloud and Webpage Screen.This study can be best practices of air pollution policy, moreover, to be an environmental impact assessment in Western District of Bangkok for sustainable sort out the air pollution problem for the future.
งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและพัฒนา การตรวจวัดปริมาณฝุ่นละออง PM2.5 ในอากาศด้วย เครื่องตรวจจับฝุ่นละอองไร้สาย โดยทำการเก็บข้อมูลในฐานข้อมูล Cloud ThingSpeak ซึ่งมีการติดตั้งเครื่องวัดคุณภาพ อากาศและฝุ่นขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน (PM2.5) ในพื้นที่แยกท่าพระ อีกทั้งมีการนำเสนอข้อมูลผ่านระบบรายงานผล ออนไลน์เพื่อให้ผู้รับข้อมูลสามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ผลการวิจัยพบว่า เครื่องตรวจวัดปริมาณฝุ่นละออง PM2.5 สามารถส่งค่าฝุ่นละอองไปเก็บและแสดงผลบนคลาวน์และเวบเบราเซอร์ได้ ในงานวิจัยนี้มีความคาดหวังว่าข้อมูลสภาพอากาศ ดังกล่าว จะสามารถเป็นข้อมูลเพื่อสนับสนุนแนวทางการแก้ไขปัญหาหมอกควันในเขตพื้นที่ กรุงเทพมหานครฝั่งตะวันตก รวมถึงการศึกษาผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ เพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้อง และรวดเร็วทัน เหตุการณ์ต่อปัญหาที่เกิดขึ้น
URI: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/871
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.