Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/868
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorPatthamasopasakul, Ratchakrich-
dc.contributor.authorBoodeerat, Ekarin-
dc.contributor.authorSookkheo, Boonyaras-
dc.contributor.authorรัชกฤช ปัทมโสภาสกุล-
dc.contributor.authorเอกรินทร์ บดีรัฐ-
dc.contributor.authorบุณยรัศมิ์ สุขเขียว-
dc.date.accessioned2021-04-01T02:15:47Z-
dc.date.available2021-04-01T02:15:47Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationจิรจรรย์ เชวงภูษิต. (2545). การประยุกต์ใช้สารไคติน/ไคโตซานจับน้ำมันปิโตเลียมที่ใช้แล้วเพื่อการย่อยสลายทางชีวภาพ. ปริญญานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. กรุงเทพฯ.-
dc.identifier.citationเพียรทิพย์ ด่านสุวรรณเมฆ. (2553). การสกัดไคตินและไคโตซานจากเปลือกกระดองปูม้าโดยวิธีทางเคมี. ปริญญานิพนธ์ วิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต. ปทุมธานี.-
dc.identifier.citationสมนึก นุสรรัมย์. (2545). การศึกษาประสิทธิภาพในการดูดซับ น้ำมันในน้ำทิ้งโดยใช้เปลือกกุ้งและไคติน. ปริญญานิพนธ์วิทยา ศาสตรบัณฑิต คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. กรุงเทพฯ-
dc.identifier.citationHirano, S. (1996) Chitin Biotechnology Applications, Biotechnology Annual Review (2), 237-258. (ก) (ข) (ค) 345-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/868-
dc.description.abstractChitin extracted from white shrimp shell was investigated to study oil adsorption in wastewater. The optimum condition for deproteinization and deminieralization of white shrimp shell were refluxing with 8% w/v sodium hydroxide at 80 OC for 3 hours followed by storage in 8% w/v hydrochloric acid at ambient temperature (28 OC) for 24 hours. The physical appearance of the extracted chitin was light orange. The amount of chitin obtained was 5.73 % w/w of the total weight of the shrimp shell. Its application in oil adsorption using the synthetic wastewater containing 2% w/v oil with the optimum condition at 28 OC, pH of 9.0 and 125 rpm shaking for 15 min was studied. It was observed that the extracted amounts of 1.00, 2.00, 3.00, 4.00 and 5.00 grams gave the oil adsorption efficiency of 65.25 76.10 78.33 79.13 and 80.25 %, respectively. The oil adsorption efficiency in five areas of wastewater in Rangsit University canteen showed a high efficiency with the average of 86.55%en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการสกัดไคตินจากเปลือกกุ้งขาว เพื่อใช้ในการศึกษาการดูดซับน้ำมันจากแหล่งน้ำทิ้ง พบว่า สภาวะที่เหมาะสมในการสกัดไคตินจากเปลือกกุ้งขาวคือ การต้มด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ เข้มข้น 8% w/v ที่ อุณหภูมิ 80OC เป็นเวลา 3 ชั่วโมง และแช่ในสารละลายกรดไฮโดรคลอริก เข้มข้น 8% w/v ที่อุณหภูมิห้อง (28 OC) เป็นเวลา 24 ชั่วโมง เพื่อการกำจัดโปรตีนและกำจัดแร่ธาตุจากเปลือกกุ้งขาว ตามลำดับ ลักษณะทางกายภาพของไคตินที่ได้เป็นเกล็ดสี ส้มอ่อน และมีปริมาณ 5.73 % w/w ของน้ำหนักเปลือกกุ้งขาว เมื่อนำไคตินที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการดูดซับน้ำมันจากแหล่ง น้ำเสียสังเคราะห์ที่มีน้ำมันผสม 2% w/v ในสภาวะที่เหมาะสมคือ ที่อุณหภูมิ 28 OC pH 9.0 เขย่าที่ความเร็วรอบ 125 รอบ ต่อนาที เป็นเวลา 15 นาที พบว่าไคตินน้ำหนัก 1.00 2.00 3.00 4.00 และ 5.00 กรัม มีความสามารถในการดูดซับน้ำมัน 65.25 76.10 78.33 79.13 และ 80.25% ตามลำดับ ประสิทธิภาพการดูดซับน้ำมันจากแหล่งน้ำทิ้งของร้านอาหารรอบ มหาวิทยาลัยรังสิต 5 แห่ง พบว่ามีความสามารถในการดูดซับได้ดีมากโดยเฉลี่ย 86.55%-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectchitin shellen_US
dc.subjectwhite shrimpen_US
dc.subjectoil adsorption.en_US
dc.titleOil Adsorption in Wastewater Using Chitin Extracted from White Shrimp Shellen_US
dc.typeArticleen_US
dcterms.titleการดูดซับน้ำมันในแหล่งน้ำทิ้งด้วยไคตินจากเปลือกกุ้งขาว-
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.