Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/856
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorSroithongpool, Nuttakamol-
dc.contributor.authorReamsri, Nadtapon-
dc.contributor.authorChanthaphot, Jiraphong-
dc.contributor.authorณัฐกมล สร้อยทองพูล-
dc.contributor.authorณัฐพล เริ่มศ-
dc.contributor.authorจิระพงศ์ ฉันทพจน์-
dc.date.accessioned2021-03-31T03:04:40Z-
dc.date.available2021-03-31T03:04:40Z-
dc.date.issued2020-07-09-
dc.identifier.citationชลิยา ลิมปิยากร. (2540). เทคโนโลยีการศึกษา. สำนักสงเสริมวิชาการ สถาบันราชภัฏธนบุรี.-
dc.identifier.citationนิมารูนี หะยีวาเงาะ และคณะ. (2559). การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ระยะที่ 1. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.-
dc.identifier.citationบุญชม ศรีสะอาด. (2556). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย เล่ม 1 (พิมพ์ครั้งที่ 5). สุวีริยาสาส์น.-
dc.identifier.citationวุฒิไกร ป้อมมะรัง. (2556). การพัฒนาโปแกรมระบบฐานข้อมูล ด้านงานโสตทัศนูปกรณ์และอาคารสถานที่ คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.-
dc.identifier.citationวีณา เนตรสว่าง และ สุรัตนา สังข์หนุน. (2555). การพัฒนาโปรแกรมระบบฐานข้อมูลการจัดเก็บเอกสารสำหรับหน่วยงาน การศึกษา. วารสารวิทยาศาสตร์ประยุกต์.-
dc.identifier.citationศรีไพร ศักดิ์รุ่งพงศากุล และเจษฎาพร ยุทธนวิบูลย์ชัย. (2551). ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีการจัดการความรู้. ซีเอ็ด ยูเคชั่น.-
dc.identifier.citationสมชาย วรัญญานุไกร. (2555). การสร้างฐานข้อมูลด้วยโปรแกรม. ภาควิชาบรรณารักษ์ศาสตร์และสารสนเทศ คณะมนุษศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.-
dc.identifier.citationเอกพงษ์ ทองแท้ และคณะ. (2559). การพัฒนาระบบสารสนเทศจัดการฐานข้อมูลงานวิจัย คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/856-
dc.description.abstractThis research aimed to 1) To develop the Information system of Audio-Visual aids Management at Dhonburi Rajabhat University Samutprakarn. 2) To determine the effectiveness of Information system of Audio-Visual aids Management at Dhonburi Rajabhat University Samutprakarn. 3) To investigate the satisfaction levels of the user towards the Information system of Audio-Visual aids Management at Dhonburi Rajabhat University Samutprakarn. The representative sample has 3 groups total 20 people includes. 1) Audio Visual System Administrators total 3 people. 2) Professors total 3 people. 3) Students total 14 people. The research instrument has 1) Information system of Audio-Visual aids Management at Dhonburi Rajabhat University Samutprakarn. 2) Performance Appraisal System of Information system of Audio-Visual aids Management at Dhonburi Rajabhat University Samutprakarn. 3) The satisfaction questionnaire of the use service for Information system of Audio-Visual aids Management at Dhonburi Rajabhat University Samutprakarn. The research revealed that 1) Information system of Audio-Visual aids Management at Dhonburi Rajabhat University Samutprakarn can be used to gauge and also can be apply. 2) Information system of Audio-Visual aids Management at Dhonburi Rajabhat University Samutprakarn has the efficiency is at excellent level which average equals 4.50 and standard deviation equals .31 3) The users have the satisfaction towards Information system of Audio-Visual aids Management at Dhonburi Rajabhat University Samutprakarn which average equals 4.11 and standard deviation equals .51en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโสตทัศนูปกรณ์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏธนบุรี สมุทรปราการ 2) หาประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโสตทัศนูปกรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ธนบุรี สมุทรปราการ 3) ศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้งานมีต่อระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโสตทัศนูปกรณ์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏธนบุรี สมุทรปราการ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยมีทั้งหมด 3 กลุ่ม รวม 20 คน ได้แก่ 1) เจ้าหน้าที่ผู้ดูแล โสตทัศนูปกรณ์ จำนวน 3 คน 2) อาจารย์ จำนวน 3 คน และ 3) นักศึกษา จำนวน 14 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโสตทัศนูปกรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี สมุทรปราการ 2) แบบประเมิน ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโสตทัศนูปกรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี สมุทรปราการ 3) แบบสอบถาม ความพึงพอใจในการใช้งานระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโสตทัศนูปกรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี สมุทรปราการ ผลการวิจัยพบว่า 1) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโสตทัศนูปกรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี สมุทรปราการ สามารถ นำไปใช้ในการประเมินและใช้งานได้จริง 2) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโสตทัศนูปกรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี สมุทรปราการมีประสิทธิภาพในระดับดีมาก ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.50 และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .31 3) ผู้ใช้งานมี ความพึงพอใจต่อระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโสตทัศนูปกรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี สมุทรปราการในระดับสูง ซึ่งมี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.11 และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .51-
dc.publisherNakhon Pathom Rajabhat Universityen_US
dc.subjectInformation systemen_US
dc.subjectManagementen_US
dc.subjectAudio-Visual aidsen_US
dc.titleThe Development of Information System of Audio-Visual aids Management At Dhonburi Rajabhat University Samutprakarnen_US
dc.titleการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโสตทัศนูปกรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี สมุทรปราการ-
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 12th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.