Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/635
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนุชนารถ, จุฑารัตน์-
dc.contributor.authorภู่เอี่ยม, ลัดดาวัลย์-
dc.contributor.authorทัศน์เจริญ, ศุภรัตน์-
dc.date.accessioned2019-02-15T04:50:29Z-
dc.date.available2019-02-15T04:50:29Z-
dc.date.issued2556-07-18-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/635-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ได้ทำการหาค่าสัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีแกมมาของเปลือกถั่วลิสงและกากอ้อยในอัตราส่วนที่แตกต่างกัน โดยอัตราส่วนระหว่างกากอ้อยกับเปลือกถั่วลิสงที่ใช้มีอัตราส่วน ดังนี้ 3:7, 4:6, 5:5, 6:4 และ 7:3 ตามลำดับแล้วทำการอัดขึ้นรูป โดยใช้เครื่องอัดโดยขนาดของแรงที่ใช้อัดเท่ากับ 25 ตันเป็นแผ่นวงกลมและนำมาหาค่าสัมประสิทธิ์ลดทอนเชิงมวลโดยวิธี การส่งผ่านรังสีแบบลำรังสีแคบที่พลังงาน 60 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ ผ่านไปยังวัสดุที่มีความหนาแน่นเท่ากับ 0.50, 0.55, 0.76, 0.59 และ 0.48 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร และมีความหนาเท่ากับ 0.7, 0.8, 0.7, 0.9 และ 0.9 เซนติเมตรตามลำดับ ค่าสัมประสิทธิ์การลดทอนเชิงมวลได้มาจากการทดลองและการคำนวณโดยโปรแกรม XCOM ผลที่ได้พบว่าทั้งสองมีค่าที่ แตกต่างอยู่ในช่วงระหว่าง 1.05-26.70 เปอร์เซ็นต์ นอกจากนั้นการศึกษาค่าสัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีเชิงมวลที่พลังงาน ต่างๆ โดยใช้โปรแกรม XCOM พบว่าเมื่อพลังงานมีค่าสูงขึ้นค่าสัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีก็จะลดลงด้วยen_US
dc.subjectถั่วลิงสง สัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีเชิงมวล อ้อยen_US
dc.titleการทดลองหาสัมประสิทธิ์การลดทอนรังสีแกมมาสำหรับวัสดุเหลือใช้จาก เปลือกถั่วลิสงและกากอ้อยในประเทศไทย Experimental investigation of  - ray attenuation coefficients for agriculture waste in Thailand: peanut shell and bagasseen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 11th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
20190215114127.pdf409.67 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.