Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/614
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจุฑาวิจิตร, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เกศินี-
dc.contributor.authorกลิ่นถือศีล, ณรงค์-
dc.contributor.authorศรีสุข, ชุติมณฑน์-
dc.contributor.authorชินตานนท์, ปิยวรรณ-
dc.date.accessioned2019-02-14T05:09:15Z-
dc.date.available2019-02-14T05:09:15Z-
dc.date.issued2557-05-30-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/614-
dc.description.abstractตำบลแหลมบัว เป็นตำบล “ต้นแบบ” ที่ขับเคลื่อนสุขภาวะจากการสร้างความเชื่อมโยงระบบเกษตรกรรมยั่งยืนสู่ การจัดการอาหารในชุมชน ทำให้คนในชุมชนทั้งเด็กเล็ก ผู้สูงอายุและผู้พิการได้รับอาหารปลอดภัย โดยการทำงานร่วมกัน อย่างเข้มแข็งของทุกภาคส่วนในลักษณะ 3 ประสาน คือ 1) ภาคราชการ มีองค์การบริหารส่วนตำบลแหลมบัวเป็น ผู้ประสานงานและบูรณาการงานของทุกฝ่ายให้เป็นไปเพื่อการตอบโจทย์ของชุมชน 2) ภาคประชาสังคม ได้แก่ องค์กรชุมชน ต่าง ๆ ที่ได้รับการพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ มีการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบและพร้อมที่จะถ่ายทอดลงสู่ระบบการศึกษา ในชุมขน และ 3) ภาควิชาการ โดยมี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ทำหน้าที่เป็นฝ่ายเสริมหนุนความรู้และประสานงานกับ เครือข่ายภายนอกen_US
dc.subjectอาหารปลอดภัย, เกษตรกรรมยั่งยืน, บทเรียน, แหลมบัวen_US
dc.titleการจัดการอาหารปลอดภัย: บทเรียนจาก “แหลมบัว” Food Safety Management: Lessons from “Laem-Bua”en_US
Appears in Collections:Proceedings of the 11th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
20190214120243.pdf3.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.