Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/474
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศักดามาศ, อมรศรี-
dc.contributor.authorศิธัญญารัตน์, จินตนา-
dc.date.accessioned2018-12-11T16:33:55Z-
dc.date.available2018-12-11T16:33:55Z-
dc.date.issued2560-09-28-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/474-
dc.description.abstractบทความนี้นําเสนอการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบ STAD ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาตามแนวของโพยา เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ โดยนําเสนอแนวคิดการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบ STAD กระบวนการ เรียนรู้แบบ STAD ซึ่งมี 4 ขั้นตอนได้แก่ 1) การนําเสนอและจัดผู้เรียนเข้ากลุ่ม 2) กิจกรรมการศึกษาของทีม 3) การทดสอบ ย่อย และ 4) ประกาศยกย่องชมเชยให้รางวัล กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวของโพยาประกอบด้วย 4 ขั้นตอนคือ 1) การทํา ความเขาใจปัญหา 2) การวางแผน 3) การดําเนินการตามแผน 4) การตรวจย้อนกลับ ข้อดีของการจัดการเรียนรู้รูปแบบ STAD คือ เปิดโอกาสให้นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์กัน ยอมรับฟังความคิดเห็นของกันและกัน ช่วยเหลือกัน ฝึกนักเรียนให้มีความรับผิดชอบ ในหน้าที่ของตนเองและในกลุ่ม อีกทั้งยังได้ฝึกทักษะทางสังคมด้วย ข้อจํากัดของการจัดการเรียนรู้รูปแบบ STAD คือ ถ้านักเรียน ยังขาดความรับผิดชอบย้อมให้การเรียนรู้ไม่ประสบผลสําเร็จได้en_US
dc.subjectการเรียนแบบร่วมมือ รูปแบบ STAD กระบวนการของโพลยา ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์en_US
dc.titleคณิตศาสตรรับการพัฒนาผู้เรียน: STAD ร่วมกับโพลยา The development of mathematics students: STAD together with Polyaen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 11th NPRU National Academic Conference



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.