Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/463
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพ่วงพร้อม, วรรณา-
dc.date.accessioned2018-12-11T08:58:53Z-
dc.date.available2018-12-11T08:58:53Z-
dc.date.issued2560-09-28-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/463-
dc.description.abstractจากการศึกษาแนวคิดชีวิตที่ดีในทรรศนะของโทมัส ฮอบส์ พบว่ามนุษย์เอาตัวเองเป็นศูนย์กลาง (Self center) ทุก การกระทำจะต้องคำนึงเสมอว่าตนได้ประโยชน์หรือไม่ เมื่อกระทำสิ่งใดแล้วไม่เกิดผลดี มนุษย์ก็จะปฏิเสธหรือหลีกเลี่ยงทันที มนุษย์มีความรักและหวงแหนชีวิตตน มนุษย์จึงใช้สิทธิในการดูแลและรักษาชีวิตตนให้ปลอดภัย สิ่งนี้ถือเป็นไปตามกฎธรรมชาติ ที่ทุกคนได้รับอย่างเท่าเทียมกัน แต่มนุษย์มีธรรมชาติอีกอย่างหนึ่งคือเห็นแก่ตัว เยื้อแย่ง แข่งขัน รุกรานกัน สิ่งนี้นำมาซึ่งปัญหา ทำให้ชีวิตมนุษย์สั้นลง แต่มนุษย์เป็นสัตว์สังคมมีการอยู่ร่วมกัน มีกิจกรรมต่าง ๆ ต้องเกื้อกูลต่อกัน ความเห็นแก่ตัวจึงต้องใช้ วิธีการควบคุมเพราะว่าความเห็นแก่ตัวมาจากตัณหา สาเหตุนี้จึงทำให้ทุกคนในรัฐต้องร่วมมือกันปฏิบัติตามกฎกติกาอันเป็น กฎศีลธรรมเพื่อนำมาซึ่งความปลอดภัยในชีวิต กฎระเบียบของสังคมจึงเป็นทั้งข้อปฏิบัติและข้อห้าม เมื่อทุกคนปฏิบัติตาม ย่อมส่งผลคือความสงบสุข เมื่อมนุษย์ต่างรักในชีวิตและปรารถนาความสุขทุกคนจึงต้องทำตามหน้าที่ตามกฎธรรมชาติเพื่อ การมีชีวิตที่ดี สรุป ชีวิตที่ดีต้องมีความปลอดภัยมั่นคง และมีความสงบสุขen_US
dc.subjectชีวิตที่ดี ชีวิตที่ดีในทรรศนะปรัชญา โทมัส ฮอบส์en_US
dc.titleชีวิตที่ดีในทรรศนะปรัชญา โทมัส ฮอบส์ The Concept of the Good Life in Thomas Hobbes Philosophyen_US
Appears in Collections:Proceedings of the 11th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
101.วรรณา พ่วงพร้อม.pdf480.88 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.