Please use this identifier to cite or link to this item: https://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/230
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจันทร์เจริญ, ไพศาล-
dc.contributor.authorเฮงพระพรหม, สุพจน์-
dc.contributor.authorเฮงพระพรหม, ไก้รุ่ง-
dc.date.accessioned2018-12-07T08:28:49Z-
dc.date.available2018-12-07T08:28:49Z-
dc.date.issued2559-03-31-
dc.identifier.urihttps://publication.npru.ac.th/jspui/handle/123456789/230-
dc.description.abstractานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพ วิธีการเลือกคุณลักษณะที่เหมาะสมสำหรับการจำแนก ประเภทข้อมูลไมโครอาร์เรย์ โดยในการทดลองจะทำการทดสอบ 2 ขั้นตอน คือ 1) การคัดเลือกคุณลักษณะที่เหมาะสม ด้วย วิธี Cosine และ SNR โดยทำการคัดเลือกคุณลักษณะที่เหมาะสมแบ่งเป็นกลุ่มย่อย ๆ ตั้งแต่ 100 ถึง 1000 คุณลักษณะ และ 2) การทดสอบประสิทธิภาพการจำแนกข้อมูล ประกอบด้วยเทคนิคการจำแนกข้อมูล 3 เทคนิค ได้แก่ ต้นไม้ตัดสินใจ วิธีเพื่อน บ้านใกล้ที่สุดเค และเบย์อย่างง่าย โดยทำการทดสอบกับข้อมูลโรคมะเร็งต่อมน้ำเหลือง จำนวน 47 ตัวอย่าง 4,026 คุณลักษณะ ผลของการทดลองพบว่า วิธีการคัดเลือกคุณลักษณะแบบ SNR สามารถให้ประสิทธิภาพการจำแนกประเภทข้อมูล เฉลี่ยดีที่สุดที่ 94.33% โดยใช้จำนวนคุณลักษณะเพียง 100 คุณลักษณะ ขณะที่การจำแนกข้อมูลด้วยคุณลักษณะทั้งหมดให้ ประสิทธิภาพที่ 86.52% จึงแสดงให้เห็นว่าการคัดเลือกคุณลักษณะที่เหมาะสมก่อนการจำแนกประเภทข้อมูลนั้นเป็นแนวทาง ที่เหมาะสมอย่างยิ่งที่จะทำให้เพิ่มประสิทธิภาพของการจำแนกข้อมูลได้เป็นอย่างดี เนื่องจากข้อมูลไมโครอาร์เรย์นั้น อาจมีการ กระจายตัวของข้อมูลอย่างมาก ซึ่งข้อมูลบางส่วนอาจไม่สอดคล้องกัน จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำการกรองข้อมูลก่อนเบื้องต้นen_US
dc.subjectข้อมูลไมโครอาร์เรย์en_US
dc.subjectการเลือกคุณลักษณะen_US
dc.subjectSNRen_US
dc.subjectต้นไม้ตัดสินใจen_US
dc.subjectวิธีเพื่อนบ้านใกล้ที่สุดเคen_US
dc.subjectเบย์อย่างง่ายen_US
dc.titleการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการเลือกคุณลักษณะที่เหมาะสม สำหรับการจำแนกประเภทข้อมูลไมโครอาร์เรย์en_US
Appears in Collections:Proceedings of the 11th NPRU National Academic Conference

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ไพศาล จันทร์เจริญ.pdf962.78 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.